*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Asanha Puja and Buddhist Lent-อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
ตอนที่ : 20
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:25:09
เข้าชม : 1560
เนื้อเรื่อง
Asanha Puja and Buddhist Lent
The Asanha Puja Day is one of the sacred days in Buddhism as it
marks the coming into existence of the Triple Gems, namely ; the
Lord Buddha, His Teachings and His Disciples. The day falls on the
fifteenth day of the waxing moon of the eighth lunar month (July).
It is an anniversary of the day on which Lord Buddha delivered the
First Sermon to his first five disciples at the Deer Park in Benares
over two thousand five hundred years ago.
To observe this auspicious day, Buddhists all over the country
perform merit-making and observe Silas (Precepts). Some go to the
temples to offer food and offerings to the monks and also listen to
a sermon to purify their minds. The Asanha Puja Day falls on the day
preceding the Buddhist Lent which starts on the fist day of the
waning moon of the eighth lunar month.
The tradition of Buddhist Lent or the annual three-month Rains
Retreat known in Thai as “Phansa” dates back to the time of early
Buddhism in ancient India, all holy men, mendicants and sages spent
three months of the annual rainy season in permanent dwellings. They
avoided unnecessary travel during the period when crops were still
new for fear they might accidentally step on young plants. In
deference to popular opinion, Lord Buddha decreed that his followers
should also abide by this ancient tradition, and thus began to
gather in groups of simple dwellings.
Buddhist Lent covers a good part of the rainy season and lasts three
lunar months. In Thailand, Buddhist monks resolve to stay in a
temple of the choice and will not take an abode in an other temple
until the Lent is over.
The celebration of the beginning of Buddhist Lent is marked by the
ceremony of presenting candles to the monks. Various institutions
e.g. schools and universities, including public and private
organisations will organise a colourful candle procession leading to
a temple where the offering of the candles will be made.
Some Buddhist followers consider the beginning of Buddhist Lent as a
time for making resolution such as refraining from smoking or
observing five precepts (Panjasila) throughout the three-month Rains
Retreat.
อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา
วันอาสาฬหบูชาจัดเป็นวันที่สำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่ง เพราะเป็นวันที่พระรัตนตรัยอุบัติขึ้นใน
โลก คือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ วันอาสาฬหบูชาตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ วันเพ็ญ
เดือน 8 (เดือนกรกฎาคม) วันนี้ในครั้งพุทธกาลกว่า 2500 ปีมาแล้ว เป็นวันที่พระสัมมา
สัมพุทธเจ้าแสดง ปฐมเทศนา* โปรดพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน กรุงพาราณสี
เพื่อเป็นการระลึกนึกถึงวันอันเป็นมงคลนี้ ชาวพุทธทั่วทั้งประเทศจะทำบุญและรักษาศีล บางคนก็
ไปวัดเพื่อถวายอาหารและจตุปัจจัยไทยธรรมแก่พระสงฆ์ และฟังพระธรรมเทศนาเพื่อขัดเกลา
จิตใจ โดยปกติวันอาสาฬหบูชาจะมีขึ้นก่อนวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน กล่าวคือ วันเข้าพรรษาจะตรง
กับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8
ประเพณีเข้าพรรษาสืบเนื่องมาแต่ต้นพุทธกาลในประเทศอินเดีย เมื่อบรรดาผู้ทรงศีล นักบวช
และฤาษีต่างก็อยู่ประจำที่ในช่วงฤดูฝน เป็นเวลา 3 เดือน พวกเขาพยายามหลีกเลี่ยงการเดิน
ทางโดยไม่จำเป็นในช่วงระยะเวลานี้ เพราะเพิ่งเริ่มฤดูกาลเพาะปลูกโดยเกรงว่าจะไป
เหยียบต้นกล้าโดยบังเอิญได้ เพื่อให้สอดคล้องกับสมัยนิยม พระพุทธเจ้าจึงทรงออกพุทธบัญญัติให้
พุทธสาวกปฏิบัติตามประเพณีปฏิบัตินี้ จึงเริ่มอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ โดยสร้างที่พักแบบง่าย ๆ ขึ้นก่อน
ฤดูกาลเข้าพรรษาจะยาวตลอดฤดูฝนเป็นเวลา 3 เดือน ในประเทศไทย พระสงฆ์จะอธิษฐาน
อยู่จำพรรษาเฉพาะในวัดที่ตนเลือกเท่านั้น และจะไม่ไปค้างคืนที่อื่นจนกว่าจะออกพรรษาแล้ว
พิธีฉลองเมื่อถึงวันเข้าพรรษาจะเริ่มด้วยการแห่เทียนไปถวายพระที่วัด สถาบันต่าง ๆ เช่น
โรงเรียนและมหาวิทยาลัย รวมทั้งหน่วยงานทั้งของรัฐและเอกชนก็จะจัดขบวนแห่เทียนอย่าง
สวยงามไปยังวัดที่จะถวายเทียนจำพรรษานั้น
ชาวพุทธบางคนยังถือเอาวันเข้าพรรษาเป็นเวลาแห่งการตั้งกฎบังคับตนเอง เช่น เลิกสูบบุหรี่
หรือสมาทานศีล 5 ตลอดพรรษาก็มี
Study English
20090815
Chakri Day-วันจักรี
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Chakri Day-วันจักรี
ตอนที่ : 22
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:40:09
เข้าชม : 1520
เนื้อเรื่อง
Chakri Day
April 6 marks the anniversary of the founding of the present Chakri
Dynasty of which the present ruling monarch, King Bhumibol the
Great, is the ninth king.
The Chakri Dynasty was founded by Phra Buddha Yodfa Chulaloke, or
Rama I, who was born on March 20, 1737 with the name of Thong Duang
and came to the throne on April 6, 1782. He ruled the country for 28
years. During his reign he consolidated the kingdom in such a way
that there was no further fear of invasion from enemies. King Rama I
has been praised as an accomplished statesman, a lawmaker, a poet
and a devout Buddhist. Thus, his reign has been called a
“reconstruction” of the Thai state and Thai culture. He was the
monarch who established Bangkok as the capital of Thailand, and this
is the most long-lasting creation which gains popularity as the
“City of Angels”. King Rama I passed away on September 7, 1809 at
the age of 72.
King Rama I’s son, Phra Buddha Loetla Naphalai, or Rama II, then
acceded to the throne. It was during his reign that a renaissance of
Thai arts and culture came about, especially in literature. The King
himself was a man gifted with artistic talent. Phra Nang Klao came
next. He fortified the country with a strong defence force and
commissoned many buildings, it was during his reign that Thai arts
reached the highest peak since Ayutthaya period. It is said that the
reigns of King Rama II and III constituted a Golden Age of
Literature and Arts, similar to King Narai’s in Ayutthaya. King Rama
III or Phra Nang Klao was succeeded by King Mongkut (Rama IV) who
was a bold religious leader. He started the commercial contacts with
foreign countries and was responsible for the introduction of
western science and modernisation into Thailand. Then came King
Chulalongkorn, the benevolent monarch. During his reign of 42 years,
many changes and reforms were made in Thailand. Slavery was
abolished, modern system of administration was introduced, efficient
law courts were established, education was systematically spread,
and the financial system was revised.
King Vajiravudh, who succeeded King Chulalongkorn, further
consolidated and developed what had been accomplished in the
previous 40 years. He contributed much to the national language and
literature so much so that he was sometimes called the poet who was
a king. The outstanding achievement of his reign is perhaps a number
of new treaties concluded between Thailand and other powers as it
helped enhancing the prestige of Thailand. The King also introduced
the use of tricolour flag to replace the old red flag with a white
elephant.
King Vajiravudh passed away on November 26, 1925 and was succeeded
by his younger brother King Prachadhipok, the seventh king of Chakri
Dynasty who reigned as the last absolute monarch. On June 24, 1932 a
revolution took place and his Majesty accepted the proposal of a
constitutional regime. On March 2, 1934 the King abdicated and later
died in exile, leaving the throne to his nephew, King Ananda
Mahidol, who after 11 years rule met a sudden death leaving the
throne to his younger brother, King Bhumibol Adulyadej, the present
monarch.
On Chakri Day, His Majesty King Bhumibol accompanied by members of
royal family presides over a religious ceremony performed to give
merit to the deceased rulers at the Royal Chapel, then pays respects
to His Majesty’s Predecessors at the Royal Pantheon and lays a
wreath at the statue of King Rama I at the Memorial Bridge. On this
occasion, the Prime Minister, Ministers, high ranking officers,
students, public and private organisations and people from all walks
of life take part in a wreath-laying ceremony and make merit for the
great kings who dedicated the best part of their lives for the
betterment of their subjects.
วันจักรี
วันที่ 6 เมษายน เป็นวันครบรอบการก่อตั้งราชวงศ์จักรี ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองราชย์อยู่ใน
ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง
ราชวงศ์นี้
ราชวงศ์จักรีก่อตั้งโดยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หรือ พระรามาธิบดีที่ 1 พระองค์ทรงประสูติ
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2280 มีพระนามเดิมว่า “ทองด้วง” และเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ
เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 พระองค์ทรงครองราชย์อยู่เป็นเวลา 28 ปี ในช่วงรัชสมัย
ของพระองค์ พระองค์ทรงรวบรวมราชอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอย่างมั่นคง จนกระทั่งไม่ต้อง
เกรงกลัวการรุกรานจากอริราชศัตรูอีกต่อไป สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงได้รับการ
สรรเสริญว่าทรงเป็นรัฐบุรุษผู้ปรีชาสามารถ เป็นนักกฎหมาย เป็นกวีและชาวพุทธผู้เลื่อมใส
ศรัทธาในพระศาสนา ดังนั้น รัชสมัยของพระองค์จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็นยุคของ “การ
สร้างสรรค์ฟื้นฟู” แห่งรัฐและวัฒนธรรมไทยพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ผู้ก่อตั้งกรุงเทพมหานครให้
เป็นเมืองหลวงของไทย และนี่ก็คืองานสร้างสรรค์ที่คงอยู่ตลอดกาลจนได้รับชื่อเสียงว่าเป็น
“เมืองเทพยดา” พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้
72 พรรษา
พระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 คือสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย หรือสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ 2 ได้เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติสืบต่อมา ในช่วงรัชสมัยของพระองค์นี้เองที่ได้มีการ
ฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรมไทยกันอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวรรณคดี สมเด็จพระรามา
ธิบดีที่ 2 เองก็ทรงพระอัจฉริยะภาพในด้านศิลป์ รัชกาลต่อมาก็คือพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงโปรดให้สร้างป้อมปราการในประเทศและเสริมสร้างกำลังกองทัพให้
แข็งแกร่ง นอกจากนี้ก็ทรงรับสั่งให้สร้างสิ่งปลูกสร้างอีกหลายอย่าง ในช่วงรัชสมัยของพระองค์
นี่เองที่ศิลปะก้าวถึงจุดเจริญรุ่งเรืองสุดขีดนับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมา กล่าวกันว่าใน
รัชกาลของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และที่ 3 นี้เปรียบได้กับ “ยุคทอง” แห่งวรรณคดีและ
ศิลปะ เปรียบได้กับยุคของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาก็ว่าได้ สมเด็จพระรา
มาธิบดีที่ 3 หรือสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการสืบทอดราชสมบัติโดยพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 4 หรือพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ผู้ซึ่งทรงเป็นผู้นำที่
ทรงพระอัจฉริยะด้านการศาสนา พระองค์ทรงริ่เริ่มการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศและทรงริ
เริ่มให้มีการใช้วิทยาศาสตร์ตะวันตกและนำความทันสมัยมาสู่ประเทศไทย และต่อจากรัชสมัย
ของพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระปิยะมหาราช ในช่วงแห่ง
การครองราชย์เป็นเวลา 42 ปี ของสมเด็จพระปิยะมหาราชนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงและการ
ปฏิรูปมากมายหลายอย่างในประเทศไทย กล่าวคือ มีการเลิกทาส ได้มีการนำเอาระบบการ
บริหารแบบสมัยใหม่เข้ามาใน ประเทศ มีการจัดตั้งการศาลที่มีประสิทธิภาพ การศึกษาได้ถูก
แพร่ขยายออกไปอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ระบบการเงินก็ยังได้มีการปรับปรุงใหม่อีกด้วย
สมเด็จพระมหาวชิราวุธทรงเสด็จขึ้นเสวยราชย์สืบต่อจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว ต่อจากนั้นพระองค์ก็ทรงสานงานต่อโดยการรวบรวมความเป็นปึกแผ่นและพัฒนาประเทศ
ชาติให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปจากเดิม พระองค์ได้ทรงช่วยจรรโลงภาษาและวัฒนธรรมของชาติ
อย่างมาก จนกระทั่งบางครั้งมีผู้กล่าวว่าพระองค์คือนักกวีที่เป็นกษัตริย์ ความสำเร็จอันยอด
เยี่ยมในรัชสมัยของพระองค์ก็คือ สนธิสัญญาใหม่ ๆ หลายฉบับที่ทำขึ้นระหว่างประเทศไทยและ
ประเทศมหาอำนาจอื่นๆ เพราะเท่ากับเป็นการช่วยเสริมศักดิ์ศรีของประเทศไทย พระองค์ยัง
ทรงโปรดให้มีการนำธงไตรรงค์มาใช้แทนธงสีแดงมีช้างเผือกอยู่ตรงกลางซึ่งเป็นแบบเก่าอีกด้วย
สมเด็จพระมหาวชิราวุธเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และได้รับการสืบ
ทอดราชสมบัติโดยพระอนุชาคือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระมหากษัตริย์องค์ที่
7 แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ซึ่งครองราชย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชองค์สุดท้าย) เพราะเมื่อวันที่
24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ก็ได้เกิดการปฏิวัติขึ้น และพระองค์ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มี
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ พระองค์ทรงสละ
ราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 และทรงเสด็จสวรรคตในเวลาต่อมาในขณะที่ยัง
ทรงเนรเทศพระองค์เองอยู่ในต่างประเทศ ทรงสละพระราชบัลลังก์ไว้ให้พระราชนัดดา (พระ
บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล) พระองค์ผู้ซึ่งครองราชย์อยู่เป็นเวลาเพียง 11 ปี ก็
ทรงเสด็จสวรรคตอย่างปัจจุบันทันด่วน พระเจ้าน้องยาเธอ (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ
พลอดุลยเดชมหาราช) ทรงสืบราชบัลลังก์ในเวลาต่อมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
เนื่องในวันจักรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยพระบรมวงศานุ
วงศ์ไปเป็นประธานในพิธีทางศาสนาเพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลให้กับบูรพมหากษัตริย์ ณ พระ
อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วทรงสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริย์ ณ
ปราสาทพระเทพบิดร ต่อจากนั้นทรงเสด็จไปวางพวงมาลา ณ พระบรมราชานุสรณ์ของพระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ที่สะพานพระพุทธยอดฟ้า ในโอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ นิสิตนักศึกษา หน่วยงานของรัฐและเอกชนและประชาชนจากทุกสาขาอาชีพ
ต่างพร้อมใจกันเข้าร่วมพิธีวางพวงมาลา และบำเพ็ญกุศลให้กับพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ทรง
อุทิศพระองค์เพื่อความสงบสุขของอาณาประชาราษฎร์ของพระองค์อย่างแท้จริง
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Chakri Day-วันจักรี
ตอนที่ : 22
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:40:09
เข้าชม : 1520
เนื้อเรื่อง
Chakri Day
April 6 marks the anniversary of the founding of the present Chakri
Dynasty of which the present ruling monarch, King Bhumibol the
Great, is the ninth king.
The Chakri Dynasty was founded by Phra Buddha Yodfa Chulaloke, or
Rama I, who was born on March 20, 1737 with the name of Thong Duang
and came to the throne on April 6, 1782. He ruled the country for 28
years. During his reign he consolidated the kingdom in such a way
that there was no further fear of invasion from enemies. King Rama I
has been praised as an accomplished statesman, a lawmaker, a poet
and a devout Buddhist. Thus, his reign has been called a
“reconstruction” of the Thai state and Thai culture. He was the
monarch who established Bangkok as the capital of Thailand, and this
is the most long-lasting creation which gains popularity as the
“City of Angels”. King Rama I passed away on September 7, 1809 at
the age of 72.
King Rama I’s son, Phra Buddha Loetla Naphalai, or Rama II, then
acceded to the throne. It was during his reign that a renaissance of
Thai arts and culture came about, especially in literature. The King
himself was a man gifted with artistic talent. Phra Nang Klao came
next. He fortified the country with a strong defence force and
commissoned many buildings, it was during his reign that Thai arts
reached the highest peak since Ayutthaya period. It is said that the
reigns of King Rama II and III constituted a Golden Age of
Literature and Arts, similar to King Narai’s in Ayutthaya. King Rama
III or Phra Nang Klao was succeeded by King Mongkut (Rama IV) who
was a bold religious leader. He started the commercial contacts with
foreign countries and was responsible for the introduction of
western science and modernisation into Thailand. Then came King
Chulalongkorn, the benevolent monarch. During his reign of 42 years,
many changes and reforms were made in Thailand. Slavery was
abolished, modern system of administration was introduced, efficient
law courts were established, education was systematically spread,
and the financial system was revised.
King Vajiravudh, who succeeded King Chulalongkorn, further
consolidated and developed what had been accomplished in the
previous 40 years. He contributed much to the national language and
literature so much so that he was sometimes called the poet who was
a king. The outstanding achievement of his reign is perhaps a number
of new treaties concluded between Thailand and other powers as it
helped enhancing the prestige of Thailand. The King also introduced
the use of tricolour flag to replace the old red flag with a white
elephant.
King Vajiravudh passed away on November 26, 1925 and was succeeded
by his younger brother King Prachadhipok, the seventh king of Chakri
Dynasty who reigned as the last absolute monarch. On June 24, 1932 a
revolution took place and his Majesty accepted the proposal of a
constitutional regime. On March 2, 1934 the King abdicated and later
died in exile, leaving the throne to his nephew, King Ananda
Mahidol, who after 11 years rule met a sudden death leaving the
throne to his younger brother, King Bhumibol Adulyadej, the present
monarch.
On Chakri Day, His Majesty King Bhumibol accompanied by members of
royal family presides over a religious ceremony performed to give
merit to the deceased rulers at the Royal Chapel, then pays respects
to His Majesty’s Predecessors at the Royal Pantheon and lays a
wreath at the statue of King Rama I at the Memorial Bridge. On this
occasion, the Prime Minister, Ministers, high ranking officers,
students, public and private organisations and people from all walks
of life take part in a wreath-laying ceremony and make merit for the
great kings who dedicated the best part of their lives for the
betterment of their subjects.
วันจักรี
วันที่ 6 เมษายน เป็นวันครบรอบการก่อตั้งราชวงศ์จักรี ซึ่งเป็นราชวงศ์ที่ครองราชย์อยู่ใน
ปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเป็นกษัตริย์องค์ที่ 9 แห่ง
ราชวงศ์นี้
ราชวงศ์จักรีก่อตั้งโดยพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก หรือ พระรามาธิบดีที่ 1 พระองค์ทรงประสูติ
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2280 มีพระนามเดิมว่า “ทองด้วง” และเสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติ
เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 พระองค์ทรงครองราชย์อยู่เป็นเวลา 28 ปี ในช่วงรัชสมัย
ของพระองค์ พระองค์ทรงรวบรวมราชอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นอย่างมั่นคง จนกระทั่งไม่ต้อง
เกรงกลัวการรุกรานจากอริราชศัตรูอีกต่อไป สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงได้รับการ
สรรเสริญว่าทรงเป็นรัฐบุรุษผู้ปรีชาสามารถ เป็นนักกฎหมาย เป็นกวีและชาวพุทธผู้เลื่อมใส
ศรัทธาในพระศาสนา ดังนั้น รัชสมัยของพระองค์จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็นยุคของ “การ
สร้างสรรค์ฟื้นฟู” แห่งรัฐและวัฒนธรรมไทยพระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ผู้ก่อตั้งกรุงเทพมหานครให้
เป็นเมืองหลวงของไทย และนี่ก็คืองานสร้างสรรค์ที่คงอยู่ตลอดกาลจนได้รับชื่อเสียงว่าเป็น
“เมืองเทพยดา” พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 เมื่อพระชนมายุได้
72 พรรษา
พระราชโอรสของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 คือสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย หรือสมเด็จพระ
รามาธิบดีที่ 2 ได้เสด็จขึ้นเสวยราชสมบัติสืบต่อมา ในช่วงรัชสมัยของพระองค์นี้เองที่ได้มีการ
ฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรมไทยกันอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านวรรณคดี สมเด็จพระรามา
ธิบดีที่ 2 เองก็ทรงพระอัจฉริยะภาพในด้านศิลป์ รัชกาลต่อมาก็คือพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงโปรดให้สร้างป้อมปราการในประเทศและเสริมสร้างกำลังกองทัพให้
แข็งแกร่ง นอกจากนี้ก็ทรงรับสั่งให้สร้างสิ่งปลูกสร้างอีกหลายอย่าง ในช่วงรัชสมัยของพระองค์
นี่เองที่ศิลปะก้าวถึงจุดเจริญรุ่งเรืองสุดขีดนับตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นต้นมา กล่าวกันว่าใน
รัชกาลของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 และที่ 3 นี้เปรียบได้กับ “ยุคทอง” แห่งวรรณคดีและ
ศิลปะ เปรียบได้กับยุคของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาก็ว่าได้ สมเด็จพระรา
มาธิบดีที่ 3 หรือสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการสืบทอดราชสมบัติโดยพระมงกุฎ
เกล้าเจ้าอยู่หัว (สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 4 หรือพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) ผู้ซึ่งทรงเป็นผู้นำที่
ทรงพระอัจฉริยะด้านการศาสนา พระองค์ทรงริ่เริ่มการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศและทรงริ
เริ่มให้มีการใช้วิทยาศาสตร์ตะวันตกและนำความทันสมัยมาสู่ประเทศไทย และต่อจากรัชสมัย
ของพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวก็คือ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือพระปิยะมหาราช ในช่วงแห่ง
การครองราชย์เป็นเวลา 42 ปี ของสมเด็จพระปิยะมหาราชนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงและการ
ปฏิรูปมากมายหลายอย่างในประเทศไทย กล่าวคือ มีการเลิกทาส ได้มีการนำเอาระบบการ
บริหารแบบสมัยใหม่เข้ามาใน ประเทศ มีการจัดตั้งการศาลที่มีประสิทธิภาพ การศึกษาได้ถูก
แพร่ขยายออกไปอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ระบบการเงินก็ยังได้มีการปรับปรุงใหม่อีกด้วย
สมเด็จพระมหาวชิราวุธทรงเสด็จขึ้นเสวยราชย์สืบต่อจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว ต่อจากนั้นพระองค์ก็ทรงสานงานต่อโดยการรวบรวมความเป็นปึกแผ่นและพัฒนาประเทศ
ชาติให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อไปจากเดิม พระองค์ได้ทรงช่วยจรรโลงภาษาและวัฒนธรรมของชาติ
อย่างมาก จนกระทั่งบางครั้งมีผู้กล่าวว่าพระองค์คือนักกวีที่เป็นกษัตริย์ ความสำเร็จอันยอด
เยี่ยมในรัชสมัยของพระองค์ก็คือ สนธิสัญญาใหม่ ๆ หลายฉบับที่ทำขึ้นระหว่างประเทศไทยและ
ประเทศมหาอำนาจอื่นๆ เพราะเท่ากับเป็นการช่วยเสริมศักดิ์ศรีของประเทศไทย พระองค์ยัง
ทรงโปรดให้มีการนำธงไตรรงค์มาใช้แทนธงสีแดงมีช้างเผือกอยู่ตรงกลางซึ่งเป็นแบบเก่าอีกด้วย
สมเด็จพระมหาวชิราวุธเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 และได้รับการสืบ
ทอดราชสมบัติโดยพระอนุชาคือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (พระมหากษัตริย์องค์ที่
7 แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ซึ่งครองราชย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชองค์สุดท้าย) เพราะเมื่อวันที่
24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ก็ได้เกิดการปฏิวัติขึ้น และพระองค์ก็ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มี
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ พระองค์ทรงสละ
ราชสมบัติเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 และทรงเสด็จสวรรคตในเวลาต่อมาในขณะที่ยัง
ทรงเนรเทศพระองค์เองอยู่ในต่างประเทศ ทรงสละพระราชบัลลังก์ไว้ให้พระราชนัดดา (พระ
บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล) พระองค์ผู้ซึ่งครองราชย์อยู่เป็นเวลาเพียง 11 ปี ก็
ทรงเสด็จสวรรคตอย่างปัจจุบันทันด่วน พระเจ้าน้องยาเธอ (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ
พลอดุลยเดชมหาราช) ทรงสืบราชบัลลังก์ในเวลาต่อมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน
เนื่องในวันจักรี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยพระบรมวงศานุ
วงศ์ไปเป็นประธานในพิธีทางศาสนาเพื่อบำเพ็ญพระราชกุศลให้กับบูรพมหากษัตริย์ ณ พระ
อุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วทรงสักการะพระบรมรูปสมเด็จพระบูรพมหากษัตริย์ ณ
ปราสาทพระเทพบิดร ต่อจากนั้นทรงเสด็จไปวางพวงมาลา ณ พระบรมราชานุสรณ์ของพระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ที่สะพานพระพุทธยอดฟ้า ในโอกาสนี้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ นิสิตนักศึกษา หน่วยงานของรัฐและเอกชนและประชาชนจากทุกสาขาอาชีพ
ต่างพร้อมใจกันเข้าร่วมพิธีวางพวงมาลา และบำเพ็ญกุศลให้กับพระมหากษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ทรง
อุทิศพระองค์เพื่อความสงบสุขของอาณาประชาราษฎร์ของพระองค์อย่างแท้จริง
Constitution Day-วันรัฐธรรมนูญ
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Constitution Day-วันรัฐธรรมนูญ
ตอนที่ : 24
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:48:47
เข้าชม : 1328
เนื้อเรื่อง
Constitution Day
December 10 marks the Constitution Day which is held annually to
commemorate the advent of the regime of Constitutional Monarchy in
Thailand.
Previously, the government of Thailand was an absolute monarchy
until June 24, 1932 there was a transition to constitutional
monarchy led by a group of young intellectuals educated abroad and
inspired by the concept of western democratic procedures. The group
which was known as “People’s Party or Khana Rasdr” was led by Luang
Pradit Manudharm (Pridi Panomyong). To avoid bloodshed, King Rama
VII graciously agreed to abolish absolute monarchy and handed over
the country’s first “Permanent” Constitution. In fact, King Rama VII
(King Prajadhipok) had prepared, even before being asked, to hand
over his powers to the people.
All Thai constitutions, however, recognise the King as Head of
State, Head of the Armed Forces, Upholder of All Religions and
sacred and inviolable in his person. His Majesty the King’s
sovereign power emanates from the people and is exercised in three
ways, namely ; legislative power through the National Assembly,
executive power through the Cabinet and Judicial power through the
law courts.
Even though the Revolution of 1932 brought an end to the centuries
old absolute monarchy, the reverence of the Thai people towards
their kings has not been diminished by this change.
Portraits of Thai kings are prominently displayed throughout the
kingdom. On Constitution Day, the entire nation is greeted with
festivity. The government offices, private buildings and most
highrises are decorated with national flags and bunting and are
brightly illuminated. On this day, all Thai citizens jointly express
their gratitude to the king who graciously granted them an
opportunity to take part in governing the country.
วันรัฐธรรมนูญ
วันที่ 10 ธันวาคมเป็นวันรัฐธรรมนูญ ซึ่งจัดให้มีขึ้นทุก ๆ ปี เพื่อเป็นการระลึกถึงการอุบัติขึ้น
ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ก่อนหน้านี้ประเทศไทยมีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐ
ธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงนี้นำโดยกลุ่มคนรุ่นหนุ่มสาวที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศและได้
รับอิทธิพลจากแนวความคิดด้านระบอบประชาธิปไตยตะวันตก กลุ่มนี้มีชื่อว่า “คณะราษฎร์” นำ
โดยหลวงประดิษฐมนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนองเลือด พระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการยกเลิกการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทรงมอบรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของประเทศให้กับประชาชน ที่
จริงแล้วพระองค์ทรงเตรียมการที่จะทรงมอบอำนาจของพระองค์ให้อาณาประชาราษฎร์ก่อนที่จะ
มีการเรียกร้องเสียด้วยซ้ำไป
อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูยไทยทุกฉบับต่างก็ยอมรับพระมหากษัตริย์ว่าทรงดำรงตำแหน่งเป็น
ประมุขของประเทศ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก และทรงดำรงอยู่
ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ อำนาจอธิปไตยของพระองค์มาจากปวงชน
ชาวไทย และพระองค์ทรงใช้อำนาจ 3 ทางคือ อำนาจนิติบัญญัติโดยผ่านรัฐสภา อำนาจบริหาร
โดยผ่านคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการโดยผ่านศาลยุติธรรม
ถึงแม้ว่า การปฏิวัติในปี พ.ศ. 2475 จะนำมาซึ่งการสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อัน
เป็นระบอบเก่าแก่มาหลายศตวรรษก็ตาม ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยที่มีต่อองค์
พระมหากษัตริย์ก็ไม่มีวันเสื่อมคลายด้วยการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งสิ้น
ที่เห็นได้ชัดก็คือ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ไทยมีให้เห็นอยู่ทั่วพระราชอาณาจักรใน
วันรัฐธรรมนูญ จะมีการจัดพิธีฉลองวันนี้กันทั่วประเทศโดยสถานที่ราชการ อาคารเอกชน และ
ตึกสูง ๆ จะประดับด้วยธงชาติและธงประดับพร้อมทั้งแสงไฟสว่างไสว ชาวไทยต่างพร้อมใจกัน
แสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณเปิดโอกาสให้ปวงชนได้เข้า
มามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Constitution Day-วันรัฐธรรมนูญ
ตอนที่ : 24
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:48:47
เข้าชม : 1328
เนื้อเรื่อง
Constitution Day
December 10 marks the Constitution Day which is held annually to
commemorate the advent of the regime of Constitutional Monarchy in
Thailand.
Previously, the government of Thailand was an absolute monarchy
until June 24, 1932 there was a transition to constitutional
monarchy led by a group of young intellectuals educated abroad and
inspired by the concept of western democratic procedures. The group
which was known as “People’s Party or Khana Rasdr” was led by Luang
Pradit Manudharm (Pridi Panomyong). To avoid bloodshed, King Rama
VII graciously agreed to abolish absolute monarchy and handed over
the country’s first “Permanent” Constitution. In fact, King Rama VII
(King Prajadhipok) had prepared, even before being asked, to hand
over his powers to the people.
All Thai constitutions, however, recognise the King as Head of
State, Head of the Armed Forces, Upholder of All Religions and
sacred and inviolable in his person. His Majesty the King’s
sovereign power emanates from the people and is exercised in three
ways, namely ; legislative power through the National Assembly,
executive power through the Cabinet and Judicial power through the
law courts.
Even though the Revolution of 1932 brought an end to the centuries
old absolute monarchy, the reverence of the Thai people towards
their kings has not been diminished by this change.
Portraits of Thai kings are prominently displayed throughout the
kingdom. On Constitution Day, the entire nation is greeted with
festivity. The government offices, private buildings and most
highrises are decorated with national flags and bunting and are
brightly illuminated. On this day, all Thai citizens jointly express
their gratitude to the king who graciously granted them an
opportunity to take part in governing the country.
วันรัฐธรรมนูญ
วันที่ 10 ธันวาคมเป็นวันรัฐธรรมนูญ ซึ่งจัดให้มีขึ้นทุก ๆ ปี เพื่อเป็นการระลึกถึงการอุบัติขึ้น
ของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ก่อนหน้านี้ประเทศไทยมีการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐ
ธรรมนูญ การเปลี่ยนแปลงนี้นำโดยกลุ่มคนรุ่นหนุ่มสาวที่ได้รับการศึกษาจากต่างประเทศและได้
รับอิทธิพลจากแนวความคิดด้านระบอบประชาธิปไตยตะวันตก กลุ่มนี้มีชื่อว่า “คณะราษฎร์” นำ
โดยหลวงประดิษฐมนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เพื่อเป็นการหลีกเลี่ยงการนองเลือด พระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการยกเลิกการปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และทรงมอบรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกของประเทศให้กับประชาชน ที่
จริงแล้วพระองค์ทรงเตรียมการที่จะทรงมอบอำนาจของพระองค์ให้อาณาประชาราษฎร์ก่อนที่จะ
มีการเรียกร้องเสียด้วยซ้ำไป
อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูยไทยทุกฉบับต่างก็ยอมรับพระมหากษัตริย์ว่าทรงดำรงตำแหน่งเป็น
ประมุขของประเทศ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก และทรงดำรงอยู่
ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้ อำนาจอธิปไตยของพระองค์มาจากปวงชน
ชาวไทย และพระองค์ทรงใช้อำนาจ 3 ทางคือ อำนาจนิติบัญญัติโดยผ่านรัฐสภา อำนาจบริหาร
โดยผ่านคณะรัฐมนตรี และอำนาจตุลาการโดยผ่านศาลยุติธรรม
ถึงแม้ว่า การปฏิวัติในปี พ.ศ. 2475 จะนำมาซึ่งการสิ้นสุดของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อัน
เป็นระบอบเก่าแก่มาหลายศตวรรษก็ตาม ความเคารพเลื่อมใสศรัทธาของชาวไทยที่มีต่อองค์
พระมหากษัตริย์ก็ไม่มีวันเสื่อมคลายด้วยการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งสิ้น
ที่เห็นได้ชัดก็คือ พระบรมฉายาลักษณ์ของพระมหากษัตริย์ไทยมีให้เห็นอยู่ทั่วพระราชอาณาจักรใน
วันรัฐธรรมนูญ จะมีการจัดพิธีฉลองวันนี้กันทั่วประเทศโดยสถานที่ราชการ อาคารเอกชน และ
ตึกสูง ๆ จะประดับด้วยธงชาติและธงประดับพร้อมทั้งแสงไฟสว่างไสว ชาวไทยต่างพร้อมใจกัน
แสดงความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระมหากรุณาธิคุณเปิดโอกาสให้ปวงชนได้เข้า
มามีส่วนร่วมในการบริหารประเทศ
Magha Puja Day-วันมาฆบูชา
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Magha Puja Day-วันมาฆบูชา
ตอนที่ : 25
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:51:02
เข้าชม : 1439
เนื้อเรื่อง
Magha Puja Day
Magha Puja Day is one of the most important Buddhist celebrations
which falls on the full moon day of the third lunar month (about the
last week of February or early March)
This day marks the great four events that took place during Lord
Buddha’s lifetime, namely ;
1. 1250 Buddhist monks from different place came to pay homage to
Lord Buddha at Veluwan Vihara in Rajgaha, the capital of Magaha
State, each on his own initiative and without prior notification or
appointment.
2. All of them were the enlightened monks (or Arahantas)
3. All of them had been individually ordained by Lord Buddha himself
(Ehi Bhikkhu), and
4. They assembled on the full moon day of the third lunar month.
On the evening of that day, Lord Buddha gave the assembly a
discourse “Ovadha Patimokha” laying down the principles of His
Teachings summarised into three acts, i.e. to do good, to abstain
from bad action and to purify the mind.
It was unclear as to when the Magha Puja Ceremony took place.
However, in a guide book of ceremonies for the twelve months written
by King Chulalongkorn (Rama V), it is said that, “….In the past, the
Magha Puja was never performed, the ceremony has just been practised
during the reign of King Mongkut (Rama IV)…” Having realized the
significance of this day, King Rama IV ordered the royal Magha Puja
Ceremony to be performed in the Emerald Buddha Temple in 1851 and to
be continued forever. Later the ceremony was widely accepted and
performed throughout the kingdom. The day is declared as a public
holiday so that people from all walks of life can go to the temple
to make merit and perform other religious activities in the morning
and to take part in the candlelit procession or “Wien Tien” in Thai
in the evening.
At the same time, at this auspicious time, His Majesty the King will
preside over the religious rites to mark the occasion at the Emerald
Buddha Temple and will later lead hundreds of people in a candlelit
procession held within the temple’s compound.
In fact, the candlelit procession can be held at any time suitable
to the public’s convenience, either in the morning or in the
evening. However, in Bangkok it will usually take place in the
evening at about 8.00 pm and the procession will be led by Buddhist
monks.
In general, most Buddhists are not aware of the significance of this
day. As a result, a number of people taking part in the ceremony may
be less than on other days such as Visakha Puja or Asanha Puja Days.
Even so Magha Puja Day carries an equal meaning to all Buddhists.
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 (ประมาณ
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ หรือไม่ก็ต้นเดือนมีนาคม)
วันนี้เป็นวันที่มีการประชุมครั้งใหญ่ (จาตุรงคสันนิบาต) อันมีความมหัศจรรย์ 4 ประการ ใน
ครั้งพุทธกาล กล่าวคือ
1. ภิกษุจำนวน 1,250 องค์มาจากที่ต่าง ๆ กันเพื่อสักการะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เวฬุวัน
วิหาร ในกรุงราชคฤห์ เมืองมคธ แต่ละองค์ก็เดินทางมาเอง โดยมิได้มีการนัดหมายกันล่วง
หน้าแต่ประการใด
2. พระภิกษุทั้งหมด ล้วนแต่เป็นผู้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆ องค์
3. พระภิกษุเหล่านั้นล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งสิ้น
4. ในวันนี้เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
ในเย็นวันนั้น พระพุทธเจ้าทรงถือโอกาสนี้แสดงโอวาทปาติโมกข์ ซึ่งมีใจความอันเป็นหลักของ
พระพุทธศาสนา กล่าวคือ ทำแต่ความดี ไม่ทำความชั่ว และทำจิตใจให้บริสุทธิ์
พิธีทำบุญวันมาฆบูชานี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีมาในสมัยใด อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีหลักฐานในพระ
ราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวไว้ว่า
“ในอดีต มาฆบูชานี้แต่เดิมไม่เคยทำกัน เพิ่งเกิดขึ้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว” รัชกาลที่ 4 ทรงเห็นความสำคัญของวันมาฆะนี้ จึงโปรดให้มีพระราชพิธีประกอบการ
กุศลขึ้นในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี พ.ศ. 2394 และกระทำสืบไปตลอดกาล ต่อ ๆ มา
พิธีในวันนี้ก็ได้แพร่หลายและประกอบพิธีกันทั่วราชอาณาจักร วันนี้ประกาศให้เป็นวันหยุดทาง
ราชการด้วย เพื่อให้ประชาชนจากทุกสาขาอาชีพได้ไปวัด เพื่อทำบุญกุศลและประกอบกิจกรรม
ทางศาสนาในตอนเช้าและเข้าร่วมพิธีเวียนเทียนในตอนค่ำอีกด้วย
ในขณะเดียวกัน เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะทรงเสด็จไป
ประกอบพิธีทางศาสนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และต่อมาก็จะทรงนำเหล่าพสกนิกรประกอบ
พิธีเวียนเทียนจัดขึ้นภายในวัดพระแก้วนี้ด้วย
ความจริงแล้ว พิธีเวียนเทียนนี้จะประกอบในเวลาใดก็ได้ แล้วแต่ความสะดวกของประชาชน
อาจจะเป็นตอนเช้าหรือตอนเย็นก็ได้ อย่างไรก็ตามในกรุงเทพมหานคร โดยปกตินิยมจัดให้มีขึ้น
ในตอนเย็น เวลาประมาณ 20.00 น. และขบวนเวียนเทียนนี้ก็จะมีพระสงฆ์เป็นผู้นำ
โดยทั่วไปแล้ว ชาวพุทธส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้ความสำคัญของวันนี้ ดังนั้น จำนวนประชาชนที่เข้าร่วม
ในพิธีจึงมีน้อยกว่าวันอื่น ๆ เช่น วันวิสาขบูชา หรือ อาสาฬหบูชา แม้กระนั้นวันมาฆบูชาก็ยังมี
ความสำคัญต่อชาวพุทธทั้งหมดอยู่ดีนั่นเอง
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Magha Puja Day-วันมาฆบูชา
ตอนที่ : 25
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:51:02
เข้าชม : 1439
เนื้อเรื่อง
Magha Puja Day
Magha Puja Day is one of the most important Buddhist celebrations
which falls on the full moon day of the third lunar month (about the
last week of February or early March)
This day marks the great four events that took place during Lord
Buddha’s lifetime, namely ;
1. 1250 Buddhist monks from different place came to pay homage to
Lord Buddha at Veluwan Vihara in Rajgaha, the capital of Magaha
State, each on his own initiative and without prior notification or
appointment.
2. All of them were the enlightened monks (or Arahantas)
3. All of them had been individually ordained by Lord Buddha himself
(Ehi Bhikkhu), and
4. They assembled on the full moon day of the third lunar month.
On the evening of that day, Lord Buddha gave the assembly a
discourse “Ovadha Patimokha” laying down the principles of His
Teachings summarised into three acts, i.e. to do good, to abstain
from bad action and to purify the mind.
It was unclear as to when the Magha Puja Ceremony took place.
However, in a guide book of ceremonies for the twelve months written
by King Chulalongkorn (Rama V), it is said that, “….In the past, the
Magha Puja was never performed, the ceremony has just been practised
during the reign of King Mongkut (Rama IV)…” Having realized the
significance of this day, King Rama IV ordered the royal Magha Puja
Ceremony to be performed in the Emerald Buddha Temple in 1851 and to
be continued forever. Later the ceremony was widely accepted and
performed throughout the kingdom. The day is declared as a public
holiday so that people from all walks of life can go to the temple
to make merit and perform other religious activities in the morning
and to take part in the candlelit procession or “Wien Tien” in Thai
in the evening.
At the same time, at this auspicious time, His Majesty the King will
preside over the religious rites to mark the occasion at the Emerald
Buddha Temple and will later lead hundreds of people in a candlelit
procession held within the temple’s compound.
In fact, the candlelit procession can be held at any time suitable
to the public’s convenience, either in the morning or in the
evening. However, in Bangkok it will usually take place in the
evening at about 8.00 pm and the procession will be led by Buddhist
monks.
In general, most Buddhists are not aware of the significance of this
day. As a result, a number of people taking part in the ceremony may
be less than on other days such as Visakha Puja or Asanha Puja Days.
Even so Magha Puja Day carries an equal meaning to all Buddhists.
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 (ประมาณ
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ หรือไม่ก็ต้นเดือนมีนาคม)
วันนี้เป็นวันที่มีการประชุมครั้งใหญ่ (จาตุรงคสันนิบาต) อันมีความมหัศจรรย์ 4 ประการ ใน
ครั้งพุทธกาล กล่าวคือ
1. ภิกษุจำนวน 1,250 องค์มาจากที่ต่าง ๆ กันเพื่อสักการะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เวฬุวัน
วิหาร ในกรุงราชคฤห์ เมืองมคธ แต่ละองค์ก็เดินทางมาเอง โดยมิได้มีการนัดหมายกันล่วง
หน้าแต่ประการใด
2. พระภิกษุทั้งหมด ล้วนแต่เป็นผู้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆ องค์
3. พระภิกษุเหล่านั้นล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งสิ้น
4. ในวันนี้เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
ในเย็นวันนั้น พระพุทธเจ้าทรงถือโอกาสนี้แสดงโอวาทปาติโมกข์ ซึ่งมีใจความอันเป็นหลักของ
พระพุทธศาสนา กล่าวคือ ทำแต่ความดี ไม่ทำความชั่ว และทำจิตใจให้บริสุทธิ์
พิธีทำบุญวันมาฆบูชานี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีมาในสมัยใด อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีหลักฐานในพระ
ราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวไว้ว่า
“ในอดีต มาฆบูชานี้แต่เดิมไม่เคยทำกัน เพิ่งเกิดขึ้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว” รัชกาลที่ 4 ทรงเห็นความสำคัญของวันมาฆะนี้ จึงโปรดให้มีพระราชพิธีประกอบการ
กุศลขึ้นในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี พ.ศ. 2394 และกระทำสืบไปตลอดกาล ต่อ ๆ มา
พิธีในวันนี้ก็ได้แพร่หลายและประกอบพิธีกันทั่วราชอาณาจักร วันนี้ประกาศให้เป็นวันหยุดทาง
ราชการด้วย เพื่อให้ประชาชนจากทุกสาขาอาชีพได้ไปวัด เพื่อทำบุญกุศลและประกอบกิจกรรม
ทางศาสนาในตอนเช้าและเข้าร่วมพิธีเวียนเทียนในตอนค่ำอีกด้วย
ในขณะเดียวกัน เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะทรงเสด็จไป
ประกอบพิธีทางศาสนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และต่อมาก็จะทรงนำเหล่าพสกนิกรประกอบ
พิธีเวียนเทียนจัดขึ้นภายในวัดพระแก้วนี้ด้วย
ความจริงแล้ว พิธีเวียนเทียนนี้จะประกอบในเวลาใดก็ได้ แล้วแต่ความสะดวกของประชาชน
อาจจะเป็นตอนเช้าหรือตอนเย็นก็ได้ อย่างไรก็ตามในกรุงเทพมหานคร โดยปกตินิยมจัดให้มีขึ้น
ในตอนเย็น เวลาประมาณ 20.00 น. และขบวนเวียนเทียนนี้ก็จะมีพระสงฆ์เป็นผู้นำ
โดยทั่วไปแล้ว ชาวพุทธส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้ความสำคัญของวันนี้ ดังนั้น จำนวนประชาชนที่เข้าร่วม
ในพิธีจึงมีน้อยกว่าวันอื่น ๆ เช่น วันวิสาขบูชา หรือ อาสาฬหบูชา แม้กระนั้นวันมาฆบูชาก็ยังมี
ความสำคัญต่อชาวพุทธทั้งหมดอยู่ดีนั่นเอง
Visakha Puja Day-วิสาขบูชา
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Visakha Puja Day-วิสาขบูชา
ตอนที่ : 23
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:46:35
เข้าชม : 1403
เนื้อเรื่อง
Visakha Puja Day
Visakha Puja Day is one of the greatest religious holidays which
falls on the 15th day of the waxing moon in the 6th lunar month. The
significant celebration is held to commemorate the Buddha’s birth,
enlightenment and death (Parinibbana)
In Thailand, as a Buddhist country with His Majesty the King as the
Upholder of all Religions, this auspicious day is celebrated
throughout the country. Religious flags are flown. Religious
ceremonies and merit makings are performed countrywide. Meanwhile,
in the countryside people will wake up in the early morning to
prepare food and sweets for monks, and at dawn they walk in a long
line to the nearby temple where they will spend the greater part of
the day in religious activities. The activities are usually centred
around the temple where they attend sermons during the day and in
the evening take part in the candle-lit procession that
circumambulates the main chapel three times. In the procession, each
person carries flowers, three incense sticks and a lighted candle in
remembrance of the Triple Gems (The Buddha, His Teaching and His
disciples).
On this occasion, a grand religious ceremony is also held at Phuttha
Monthon in Nakhon Pathom Province where the statue of the Walking
Buddha is located. Here the candle-lit procession is usually led by
a member of the royal family. Buddhists from nearby and other
provinces come to take part in the procession and some of them may
take the time off to purify their minds through the practice of
meditation and listening to the sermons.
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชานับเป็นสำคัญวันหนึ่งทางพุทธศาสนา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 พิธีที่จัดให้มี
ขึ้นในวันนี้ก็เพื่อเป็นการระลึกนึกถึงวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประสูติ ตรัสรูและปรินิพพาน
ประเทศไทยในฐานะที่เป็นเมืองพุทธอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ในวันสำคัญนี้
จะมีการจัดพิธีบูชาทั่วทั้งประเทศ ธงศาสนาจะปลิวไสวอยู่ทั่วไป พิธีทางศาสนาและการทำบุญจะ
มีขึ้นทั่วทั้งประเทศ ในขณะเดียวกันในต่างจังหวัด ชาวพุทธจะตื่นนอนแต่เช้าตรู่เพื่อตระเตรียม
อาหารและของหวานเพื่อถวายพระสงฆ์ ครั้นรุ่งเช้าประชาชนก็จะเดินเป็นทิวแถวมุ่งหน้าไปยัง
วัดใกล้เคียงเพื่อใช้เวลาส่วนใหญ่ของวันนั้นในการทำกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมเหล่านี้
ส่วนมากก็จะกระทำกันที่วัดซึ่งเป็นสถานที่ฟังพระธรรมเทศนาในตอนกลางวัน และในช่วงเย็นก็
เข้าร่วมพิธีเวียนเทียนซึ่งได้แก่การเดินรอบพระอุโบสถ 3 รอบ ในขบวนพิธีนี้แต่ละคนก็จะถือ
ดอกไม้ ธูป 3 ดอกและเทียนไขจุดแล้ว 1 แท่ง เพื่อระลึกนึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย (อันมี
พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์
เนื่องในโอกาสนี้ พิธีทางศาสนาอันตระการตาก็ยังถูกจัดขึ้นที่บริเวณพุทธมณฑล ในจังหวัด
นครปฐม ซึ่งมีพระพุทธรูปปางลีลาประดิษฐานอยู่ ที่นี่พิธีเวียนเทียนโดยปกติจะนำโดยประบรม
วงศานุวงศ์ ชาวพุทธในบริเวณใกล้เคียงและจังหวัดอื่น ๆ จะมาเข้าร่วมในพิธีและบางคนก็อาจ
จะถือโอกาสนี้ขัดเกลาจิตใจให้ผ่องใสโดยการปฏิบัติกรรมฐานและฟังพระธรรมเทศนา เป็นต้น
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Visakha Puja Day-วิสาขบูชา
ตอนที่ : 23
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:46:35
เข้าชม : 1403
เนื้อเรื่อง
Visakha Puja Day
Visakha Puja Day is one of the greatest religious holidays which
falls on the 15th day of the waxing moon in the 6th lunar month. The
significant celebration is held to commemorate the Buddha’s birth,
enlightenment and death (Parinibbana)
In Thailand, as a Buddhist country with His Majesty the King as the
Upholder of all Religions, this auspicious day is celebrated
throughout the country. Religious flags are flown. Religious
ceremonies and merit makings are performed countrywide. Meanwhile,
in the countryside people will wake up in the early morning to
prepare food and sweets for monks, and at dawn they walk in a long
line to the nearby temple where they will spend the greater part of
the day in religious activities. The activities are usually centred
around the temple where they attend sermons during the day and in
the evening take part in the candle-lit procession that
circumambulates the main chapel three times. In the procession, each
person carries flowers, three incense sticks and a lighted candle in
remembrance of the Triple Gems (The Buddha, His Teaching and His
disciples).
On this occasion, a grand religious ceremony is also held at Phuttha
Monthon in Nakhon Pathom Province where the statue of the Walking
Buddha is located. Here the candle-lit procession is usually led by
a member of the royal family. Buddhists from nearby and other
provinces come to take part in the procession and some of them may
take the time off to purify their minds through the practice of
meditation and listening to the sermons.
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชานับเป็นสำคัญวันหนึ่งทางพุทธศาสนา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 พิธีที่จัดให้มี
ขึ้นในวันนี้ก็เพื่อเป็นการระลึกนึกถึงวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประสูติ ตรัสรูและปรินิพพาน
ประเทศไทยในฐานะที่เป็นเมืองพุทธอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ในวันสำคัญนี้
จะมีการจัดพิธีบูชาทั่วทั้งประเทศ ธงศาสนาจะปลิวไสวอยู่ทั่วไป พิธีทางศาสนาและการทำบุญจะ
มีขึ้นทั่วทั้งประเทศ ในขณะเดียวกันในต่างจังหวัด ชาวพุทธจะตื่นนอนแต่เช้าตรู่เพื่อตระเตรียม
อาหารและของหวานเพื่อถวายพระสงฆ์ ครั้นรุ่งเช้าประชาชนก็จะเดินเป็นทิวแถวมุ่งหน้าไปยัง
วัดใกล้เคียงเพื่อใช้เวลาส่วนใหญ่ของวันนั้นในการทำกิจกรรมทางศาสนา และกิจกรรมเหล่านี้
ส่วนมากก็จะกระทำกันที่วัดซึ่งเป็นสถานที่ฟังพระธรรมเทศนาในตอนกลางวัน และในช่วงเย็นก็
เข้าร่วมพิธีเวียนเทียนซึ่งได้แก่การเดินรอบพระอุโบสถ 3 รอบ ในขบวนพิธีนี้แต่ละคนก็จะถือ
ดอกไม้ ธูป 3 ดอกและเทียนไขจุดแล้ว 1 แท่ง เพื่อระลึกนึกถึงพระคุณของพระรัตนตรัย (อันมี
พระพุทธ พระธรรม และ พระสงฆ์
เนื่องในโอกาสนี้ พิธีทางศาสนาอันตระการตาก็ยังถูกจัดขึ้นที่บริเวณพุทธมณฑล ในจังหวัด
นครปฐม ซึ่งมีพระพุทธรูปปางลีลาประดิษฐานอยู่ ที่นี่พิธีเวียนเทียนโดยปกติจะนำโดยประบรม
วงศานุวงศ์ ชาวพุทธในบริเวณใกล้เคียงและจังหวัดอื่น ๆ จะมาเข้าร่วมในพิธีและบางคนก็อาจ
จะถือโอกาสนี้ขัดเกลาจิตใจให้ผ่องใสโดยการปฏิบัติกรรมฐานและฟังพระธรรมเทศนา เป็นต้น
King’s Birthday-วันพ่อ-วันเฉลิมพระชนมพรรษา
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : King’s Birthday-วันพ่อ-วันเฉลิมพระชนมพรรษา
ตอนที่ : 21
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:32:59
เข้าชม : 2022
เนื้อเรื่อง
King’s Birthday
His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great was born on December
5, 1927 to Prince Mahidol of Songkhla and Mom Sangwan. His Majesty
is the ninth King of the Chakri Dynasty and the longest-reigning
monarch in the history of Thailand.
His Majesty the King is well recognised as the heart and soul of the
Thai nation. He is held in high esteem not only by his own subjects,
but His Majesty also commands enormous respect from people in all
parts of the world.
Everywhere he goes, people turn up to greet him in hundreds of
thousands. The manner in which His Majesty conducts himself, giving
his whole heart and attention to the people, immediately linked the
living symbol of the nation to the people in a bond of mutual
understanding and personal affection.
The main concern of His Majesty is for the uplifting of the general
well-being of the people. Evidence of this can be drawn from His
Majesty the King’s ceaseless efforts to visit his subjects in the
rural areas. The aim of His Majesty’s visits is to learn at first
hand about the needs of his subjects.
To obtain such information, his Majesty has to travel many thousands
of kilometres throughout the kingdom and, whenever possible,
suggests ways to overcome the difficulties. These visits have led to
the establishment of over 1,000 Royal and Royally-initiated
projects. They are implemented by the relevant agencies of the
government after having been given advice and assistance by His
Majesty.
His Majesty is the first member of the Royal Family to be granted a
patent for an invention. The registered patent is for one of His
Majesty’s “Chai Pattana Machines”-the Chai Pattana Aerator Model RX
2. The patent rights call it an “apparatus” for water treatment”,
which is used for agricultural and industrial purposes and can be
seen operating in many polluted water ways.
Buddhism is the national religion of Thailand and His Majesty
constantly shows himslef to be a convinced and dedicated disciple of
the Lord Buddha. To follow the tradition of young Buddhist men to go
into the monastery for a period of time, His Majesty entered the
Buddhist monkhood at Wat Bovornnives on 22 October 1956. The
Constitution of Thailand, however, does not prescribe the King to be
only the Defender of the Buddhist Faith, but also to be the upholder
of all Religions. He gives equal attention to the protection of all
forms of worship and also to the problems of other religious
communities in Thailand.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great came to the throne on
June 9, 1946. The meaning of his name is “Strength of the Land,
incomparable Power”. Since that date he has reigned over the Kingdom
of Thailand as a constitutional monarch. At the Coronation Ceremony
on May 5, 1950, His Majesty the King pronounced the traditional Oath
of Accession which stated: -“We will reign with righteousness for
the benefit and happiness of the Siamese people”. His Majesty’s
actions since then have thoroughly reflected those words and have
always been directed towards increasing the welfare and prosperity
of the Thai nation.
On his birthday, which is observed as a National Holiday, all his
subjects rejoice in demonstrating once more their affection and
loyalty to him. Religious rites are held, houses and buildings are
decorated with flags, lights and his portraits. The whole nation
prays to the Holy Triple Gem and all the sacred things in the
universe to bless His Majesty with good health and happiness and the
strength to carry on his onerous task.
วันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.
2470 ทรงเป็นพระราชโอรสของเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์และหม่อมศรีสังวาลย์
พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครอง
ราชย์นานที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย
พระองค์ทรงได้รับการเทิดทูนว่าเป็นศูนย์รวมใจของชาวไทยทั่วทั้งประเทศ พระองค์ไม่เพียงแต่
เป็นที่เคารพรักของพสกนิกรของพระองค์เท่านั้น หากยังเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วโลก
อีกด้วย
ในทุก ๆ ที่ที่พระองค์เสด็จไป พสกนิกรต่างพากันมาเข้าเฝ้าชื่นชมพระบารมีอย่างล้นหลาม จาก
การปฏิบัติภารกิจของพระองค์โดยทุ่มเทพระราชหฤทัยไปยังทวยราษฎร์นี้นี่เองที่ทำให้พระองค์
กลายเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติให้มีความสมานฉันท์และเอื้ออาทรต่อกันและกัน
ความสนพระราชหฤทัยของพระองค์ส่วนใหญ่ก็เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีให้แก่พสกนิกร ทั้งนี้
เห็นได้จากความวิริยะอุตสาหะของพระองค์โดยไม่ทรงเห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อยพระวรกาย อัน
เนื่องมาจากการเสด็จเยือนพสกนิกรในถิ่นทุรกันดาร พระราชประสงค์ของการเสด็จเยือนก็เพื่อ
ที่จะได้ทรงรับทราบความต้องการของพสกนิกรด้วยพระองค์เอง
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านั้น พระองค์ต้องเสด็จพระราชดำเนินเป็นระยะทางหลายพัน
กิโลเมตรทั่วพระราชอาณาจักรและเมื่อใดก็ตามที่ทรงมีโอกาสพระองค์ก็จะทรงเสนอแนะวิธีเอา
ชนะปัญหาต่างๆ จากการเสด็จเยือนสถานที่ต่าง ๆ เหล่านี้เองที่นำไปสู่การจัดตั้งโครงการ
หลวงและโครงการในพระราชดำริกว่า 1,000 โครงการ หลังจากที่ได้รับทราบแนวพระราช
ดำริแล้วหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของรัฐบาลก็จะรับไปดำเนินการเพื่อตอบสนองพระราช
ประสงค์สืบไป
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นสมาชิกของเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับการจด
ทะเบียนลิขสิทธิ์สิ่งประดิษฐ์และสิ่งประดิษฐ์นั้นก็คือ “กังหันน้ำชัยพัฒนา” หรือ “The Chai
Pattana Aerator Model RX2” แต่ในทะเบียนลิขสิทธิ์เรียกว่า “Apparatus for
water treatment” (หรือเครื่องบำบัดน้ำเสีย) ซึ่งทรงมีพระราชประสงค์เพื่อใช้ในการ
เกษตรและอุตสาหกรรมและสามารถจะพบเห็นเครื่องบำบัดน้ำเสียเช่นนี้ได้ตามแม่น้ำลำคลองที่
กำลังเผชิญกับภาวะเน่าเสีย
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติไทยและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงแสดงให้เป็น
ประจักษ์อยู่เสมอมาว่าพระองค์ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนอย่างถ่องแท้ โดยทั่วไปเพื่อเป็นการปฏิบัติ
ตามประเพณีชายหนุ่มชาวพุทธจะทำการอุปสมบทเป็นระยะเวลาหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัวก็ทรงผนวชเป็นพระภิกษุที่วัดบวรนิเวศ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2499 นอกจานี้รัฐธรรมนูญไทย
ไม่ได้ระบุเพียงว่าพระมหากษัตริย์ต้องเป็นผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาในศาสนาพุทธเท่านั้นแต่ยังต้องทรง
เป็นอัครศาสนูปถัมภ์ของทุก ๆ ศาสนาอีกด้วย พร้อมทั้งยังทรงใส่พระทัยและให้การคุ้มครองแก่
ทุกลัทธิความเชื่อ อีกทั้งยังทรงให้การปฏิบัติแก่ผู้ที่นับถือศาสนาต่าง ๆ ที่พักพิงภายใต้พระบรม
โพธิสมภารอย่างเท่าเทียมกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทรงเสด็จขึ้นสู่บัลลังก์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน
2489 พระนามของพระองค์มีความหมายว่า “กำลังแห่งแผ่นดิน, ไม่มีอำนาจใดเทียบเท่า”
และนับแต่วันนั้นเป็นต้นมา พระองค์ก็ได้ทรงปกครองราชอาณาจักรภายใต้รัฐธรรมนูญ และใน
พระราชพิธีราชาภิเษก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 พระองค์ได้ให้คำสัตย์ปฏิญาณในการขึ้น
ครองราชย์ตามประเพณีว่า “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกร
สยาม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระองค์ก็ได้แสดงให้เห็นอย่างแจ่มชัดแล้วดังที่พระองค์ทรงตรัสไว้
โดยทรงมุ่งไปยังการช่วยให้พสกนิกรกินดีอยู่ดีและมีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไป
เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพขององค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งถือเป็นวันชาติ พสกนิกร
ทุกหมู่เหล่าต่างพร้อมเพรียงกันแสดงความจงรักภักดีและแซ่ซ้องสรรเสริญพระบารมีของพระองค์
อีกครั้งหนึ่ง และในโอกาสนี้ก็จะมีการทำบุญตักบาตร ประดับประดาบ้านเรือน ตึก อาคาร ด้วย
ธงชาติ และธงพระปรมาภิไธย ไฟประดับและพระบรมฉายาลักษณ์ ชาวไทยทั่วทั้งประเทศต่าง
สวดมนต์อ้อนวอนพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกจงดลบันดาลให้พระองค์มี
สุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ ทรงพระเกษมสำราญ และมีพละกำลังแข็งแรงเพื่อทรงช่วยเหลือ
พสกนิกรตราบนานเท่านาน
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : King’s Birthday-วันพ่อ-วันเฉลิมพระชนมพรรษา
ตอนที่ : 21
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:32:59
เข้าชม : 2022
เนื้อเรื่อง
King’s Birthday
His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great was born on December
5, 1927 to Prince Mahidol of Songkhla and Mom Sangwan. His Majesty
is the ninth King of the Chakri Dynasty and the longest-reigning
monarch in the history of Thailand.
His Majesty the King is well recognised as the heart and soul of the
Thai nation. He is held in high esteem not only by his own subjects,
but His Majesty also commands enormous respect from people in all
parts of the world.
Everywhere he goes, people turn up to greet him in hundreds of
thousands. The manner in which His Majesty conducts himself, giving
his whole heart and attention to the people, immediately linked the
living symbol of the nation to the people in a bond of mutual
understanding and personal affection.
The main concern of His Majesty is for the uplifting of the general
well-being of the people. Evidence of this can be drawn from His
Majesty the King’s ceaseless efforts to visit his subjects in the
rural areas. The aim of His Majesty’s visits is to learn at first
hand about the needs of his subjects.
To obtain such information, his Majesty has to travel many thousands
of kilometres throughout the kingdom and, whenever possible,
suggests ways to overcome the difficulties. These visits have led to
the establishment of over 1,000 Royal and Royally-initiated
projects. They are implemented by the relevant agencies of the
government after having been given advice and assistance by His
Majesty.
His Majesty is the first member of the Royal Family to be granted a
patent for an invention. The registered patent is for one of His
Majesty’s “Chai Pattana Machines”-the Chai Pattana Aerator Model RX
2. The patent rights call it an “apparatus” for water treatment”,
which is used for agricultural and industrial purposes and can be
seen operating in many polluted water ways.
Buddhism is the national religion of Thailand and His Majesty
constantly shows himslef to be a convinced and dedicated disciple of
the Lord Buddha. To follow the tradition of young Buddhist men to go
into the monastery for a period of time, His Majesty entered the
Buddhist monkhood at Wat Bovornnives on 22 October 1956. The
Constitution of Thailand, however, does not prescribe the King to be
only the Defender of the Buddhist Faith, but also to be the upholder
of all Religions. He gives equal attention to the protection of all
forms of worship and also to the problems of other religious
communities in Thailand.
His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great came to the throne on
June 9, 1946. The meaning of his name is “Strength of the Land,
incomparable Power”. Since that date he has reigned over the Kingdom
of Thailand as a constitutional monarch. At the Coronation Ceremony
on May 5, 1950, His Majesty the King pronounced the traditional Oath
of Accession which stated: -“We will reign with righteousness for
the benefit and happiness of the Siamese people”. His Majesty’s
actions since then have thoroughly reflected those words and have
always been directed towards increasing the welfare and prosperity
of the Thai nation.
On his birthday, which is observed as a National Holiday, all his
subjects rejoice in demonstrating once more their affection and
loyalty to him. Religious rites are held, houses and buildings are
decorated with flags, lights and his portraits. The whole nation
prays to the Holy Triple Gem and all the sacred things in the
universe to bless His Majesty with good health and happiness and the
strength to carry on his onerous task.
วันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงประสูติเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.
2470 ทรงเป็นพระราชโอรสของเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์และหม่อมศรีสังวาลย์
พระองค์ทรงเป็นกษัตริย์ องค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรีและทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงครอง
ราชย์นานที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย
พระองค์ทรงได้รับการเทิดทูนว่าเป็นศูนย์รวมใจของชาวไทยทั่วทั้งประเทศ พระองค์ไม่เพียงแต่
เป็นที่เคารพรักของพสกนิกรของพระองค์เท่านั้น หากยังเป็นที่เคารพนับถือของประชาชนทั่วโลก
อีกด้วย
ในทุก ๆ ที่ที่พระองค์เสด็จไป พสกนิกรต่างพากันมาเข้าเฝ้าชื่นชมพระบารมีอย่างล้นหลาม จาก
การปฏิบัติภารกิจของพระองค์โดยทุ่มเทพระราชหฤทัยไปยังทวยราษฎร์นี้นี่เองที่ทำให้พระองค์
กลายเป็นศูนย์รวมใจของชนในชาติให้มีความสมานฉันท์และเอื้ออาทรต่อกันและกัน
ความสนพระราชหฤทัยของพระองค์ส่วนใหญ่ก็เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีให้แก่พสกนิกร ทั้งนี้
เห็นได้จากความวิริยะอุตสาหะของพระองค์โดยไม่ทรงเห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อยพระวรกาย อัน
เนื่องมาจากการเสด็จเยือนพสกนิกรในถิ่นทุรกันดาร พระราชประสงค์ของการเสด็จเยือนก็เพื่อ
ที่จะได้ทรงรับทราบความต้องการของพสกนิกรด้วยพระองค์เอง
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านั้น พระองค์ต้องเสด็จพระราชดำเนินเป็นระยะทางหลายพัน
กิโลเมตรทั่วพระราชอาณาจักรและเมื่อใดก็ตามที่ทรงมีโอกาสพระองค์ก็จะทรงเสนอแนะวิธีเอา
ชนะปัญหาต่างๆ จากการเสด็จเยือนสถานที่ต่าง ๆ เหล่านี้เองที่นำไปสู่การจัดตั้งโครงการ
หลวงและโครงการในพระราชดำริกว่า 1,000 โครงการ หลังจากที่ได้รับทราบแนวพระราช
ดำริแล้วหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องของรัฐบาลก็จะรับไปดำเนินการเพื่อตอบสนองพระราช
ประสงค์สืบไป
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นสมาชิกของเชื้อพระวงศ์พระองค์แรกที่ทรงได้รับการจด
ทะเบียนลิขสิทธิ์สิ่งประดิษฐ์และสิ่งประดิษฐ์นั้นก็คือ “กังหันน้ำชัยพัฒนา” หรือ “The Chai
Pattana Aerator Model RX2” แต่ในทะเบียนลิขสิทธิ์เรียกว่า “Apparatus for
water treatment” (หรือเครื่องบำบัดน้ำเสีย) ซึ่งทรงมีพระราชประสงค์เพื่อใช้ในการ
เกษตรและอุตสาหกรรมและสามารถจะพบเห็นเครื่องบำบัดน้ำเสียเช่นนี้ได้ตามแม่น้ำลำคลองที่
กำลังเผชิญกับภาวะเน่าเสีย
ศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติไทยและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงแสดงให้เป็น
ประจักษ์อยู่เสมอมาว่าพระองค์ทรงเป็นพุทธศาสนิกชนอย่างถ่องแท้ โดยทั่วไปเพื่อเป็นการปฏิบัติ
ตามประเพณีชายหนุ่มชาวพุทธจะทำการอุปสมบทเป็นระยะเวลาหนึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัวก็ทรงผนวชเป็นพระภิกษุที่วัดบวรนิเวศ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2499 นอกจานี้รัฐธรรมนูญไทย
ไม่ได้ระบุเพียงว่าพระมหากษัตริย์ต้องเป็นผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาในศาสนาพุทธเท่านั้นแต่ยังต้องทรง
เป็นอัครศาสนูปถัมภ์ของทุก ๆ ศาสนาอีกด้วย พร้อมทั้งยังทรงใส่พระทัยและให้การคุ้มครองแก่
ทุกลัทธิความเชื่อ อีกทั้งยังทรงให้การปฏิบัติแก่ผู้ที่นับถือศาสนาต่าง ๆ ที่พักพิงภายใต้พระบรม
โพธิสมภารอย่างเท่าเทียมกัน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทรงเสด็จขึ้นสู่บัลลังก์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน
2489 พระนามของพระองค์มีความหมายว่า “กำลังแห่งแผ่นดิน, ไม่มีอำนาจใดเทียบเท่า”
และนับแต่วันนั้นเป็นต้นมา พระองค์ก็ได้ทรงปกครองราชอาณาจักรภายใต้รัฐธรรมนูญ และใน
พระราชพิธีราชาภิเษก เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2493 พระองค์ได้ให้คำสัตย์ปฏิญาณในการขึ้น
ครองราชย์ตามประเพณีว่า “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกร
สยาม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระองค์ก็ได้แสดงให้เห็นอย่างแจ่มชัดแล้วดังที่พระองค์ทรงตรัสไว้
โดยทรงมุ่งไปยังการช่วยให้พสกนิกรกินดีอยู่ดีและมีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไป
เนื่องในวโรกาสคล้ายวันพระราชสมภพขององค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งถือเป็นวันชาติ พสกนิกร
ทุกหมู่เหล่าต่างพร้อมเพรียงกันแสดงความจงรักภักดีและแซ่ซ้องสรรเสริญพระบารมีของพระองค์
อีกครั้งหนึ่ง และในโอกาสนี้ก็จะมีการทำบุญตักบาตร ประดับประดาบ้านเรือน ตึก อาคาร ด้วย
ธงชาติ และธงพระปรมาภิไธย ไฟประดับและพระบรมฉายาลักษณ์ ชาวไทยทั่วทั้งประเทศต่าง
สวดมนต์อ้อนวอนพระรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลกจงดลบันดาลให้พระองค์มี
สุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ ทรงพระเกษมสำราญ และมีพละกำลังแข็งแรงเพื่อทรงช่วยเหลือ
พสกนิกรตราบนานเท่านาน
The Elephant Round-up Festival-เทศกาลคล้องช้าง
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Elephant Round-up Festival-เทศกาลคล้องช้าง
ตอนที่ : 18
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:08:45
เข้าชม : 1406
เนื้อเรื่อง
The Elephant Round-up Festival
The most popular of Northeastern festivals with foreign tourists is
the Surin Elephant Round-up which is held annually in November. The
people of Surin have long been renowned for their skill in capturing
and training wild elephants and the round-up. In the past wild
elephants lived in the forest areas of nearby Cambodia.
Unfortunately, these areas have been inaccessible due to civil war
in Cambodia, and at the same time, the elephant population is
markedly decreasing thus the elephant catchers must now make a
living by taking their charges around the country giving shows.
The greatest event of the Surin round-up is a beautifully organised
display of the talents and abilities of these superb beasts. The
round-up first took place in 1960. It begins with a mass procession
of all the elephants taking part, usually 120-150, ranging from
calves only a few weeks old to the well-trained elephants with many
decades of experience.
During the show, hundreds of the huge animals demonstrate their
prowess at moving logs, playing soccer and winning a tug-of-war
against human teams. Other demonstrations are designed to show not
only the great strength of the elephants but also show they can be
very intelligent, gentle and obedient. The show concludeds with a
mock battle illustrating what was formerly an important part of
their duties.
The round-up is those days was an annual state ceremony presided
over by the king himself. There were prayers and citations devised
for the ceremony and for the taming of captured elephants
afterwards. In recent times, the event has been revived and has
become a major tourist attraction for the country, with the province
of Surin as the main centre of activities. The event draws more and
more visitors each year.
The event is the occasion for great fun in which the visitor is
welcome to join. It also offers superb opportunities for learning
about the distinct folk culture of the Northeast.
เทศกาลคล้องช้าง
เทศกาลที่เป็นที่ชื่นชอบกันมากที่สุดของภาคอีสานในหมู่นักท่องเที่ยวก็เห็นจะเป็นงานคล้องช้างที่
จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในเดือนพฤศจิกายน ชาวสุรินทร์มีชื่อเสียงเกี่ยวกับความ
สามารถในการจับช้าง ฝึกช้างป่าและคล้องช้างมาเป็นเวลานานแล้ว ในอดีตช้างป่าอาศัยอยู่ใน
ป่าใกล้ประเทศเขมร แต่โชคร้ายที่ปัจจุบันพื้นที่เหล่านี้เข้าไปไม่ได้แล้วเนื่องจากสงครามกลาง
เมืองในประเทศนั้น และในขณะเดียวกันประชากรของช้างก็มีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด ทุก
วันนี้ควาญช้างจึงต้องอาศัยการดำรงชีพโดยนำช้างไปแสดงการละเล่นต่างๆ เพื่อขอเงินจากคน
ดูทั่วทั้งประเทศ
งานคล้องช้างสุรินทร์ที่จัดว่ายิ่งใหญ่ที่สุดก็คือการแสดงที่จัดไว้อย่างสวยงามเพื่อให้เห็นความชาญ
ฉลาดและความสามารถของสัตว์ที่เก่งกาจเหล่านี้ งานคล้องช้างจัดขึ้นครั้งแรกในปี พุทธศักราช
2503 งานคล้องช้างนี้จะเริ่มด้วยขบวนใหญ่โตของช้างจำนวนหลายเชือก (โดยปกติประมาณ
120-150 เชือก) ซึ่งจะมีทั้งลูกช้างอายุ 2-3 สัปดาห์ ไปจนถึงช้างที่ได้รับการฝึกมาเป็นอย่าง
ดีและมีประสบการณ์หลายสิบปี
ในช่วงการแสดงช้างขนาดใหญ่หลายร้อยเชือกจะแสดงให้เห็นถึงพละกำลังของมันในการลากซุง
เตะฟุตบอลและการแข่งขันชักเย่อกับมนุษย์ การแสดงอื่นๆ ที่นำมาแสดงไม่ใช่เพื่อให้เห็นถึงพละ
กำลังอันมหาศาลของช้างเท่านั้น แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความชาญฉลาด ความสุภาพและความ
แสนรู้ของมันอีกด้วย การแสดงจบลงด้วยการจำลองการทำสงคราม ซึ่งช้างก็เคยมีส่วนสำคัญใน
การศึกอีกด้วย
ในอดีต การคล้องช้างเป็นพระราชพิธีประจำปีซึ่งพระมหากษัตริย์จะเสด็จมาเป็นองค์ประธานใน
พิธีและจะมีการสวดและร่ายเวทมนตร์เพื่อพิธีนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็เพื่อให้ช้างที่จับมาได้เชื่อ
นั่นเอง พิธีนี้ได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งเมื่อไม่นานมานี้และได้กลายเป็นจุดสำคัญที่ดึงดูดนักท่อง
เที่ยวให้เข้ามาในประเทศในเวลาต่อมา โดยให้จังหวัดสุรินทร์เป็นศูนย์กลางของงานนี้ งาน
คล้องช้างก็เริ่มดึงดูดนักท่องเที่ยวมากขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี
งานนี้เป็นงานที่นักท่องเที่ยวจะมีโอกาสได้สนุกสนานที่สุดงานหนึ่งที่จะเข้าชมได้ และเป็นโอกาส
ดีที่จะได้เรียนรู้วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวอีสาน
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Elephant Round-up Festival-เทศกาลคล้องช้าง
ตอนที่ : 18
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:08:45
เข้าชม : 1406
เนื้อเรื่อง
The Elephant Round-up Festival
The most popular of Northeastern festivals with foreign tourists is
the Surin Elephant Round-up which is held annually in November. The
people of Surin have long been renowned for their skill in capturing
and training wild elephants and the round-up. In the past wild
elephants lived in the forest areas of nearby Cambodia.
Unfortunately, these areas have been inaccessible due to civil war
in Cambodia, and at the same time, the elephant population is
markedly decreasing thus the elephant catchers must now make a
living by taking their charges around the country giving shows.
The greatest event of the Surin round-up is a beautifully organised
display of the talents and abilities of these superb beasts. The
round-up first took place in 1960. It begins with a mass procession
of all the elephants taking part, usually 120-150, ranging from
calves only a few weeks old to the well-trained elephants with many
decades of experience.
During the show, hundreds of the huge animals demonstrate their
prowess at moving logs, playing soccer and winning a tug-of-war
against human teams. Other demonstrations are designed to show not
only the great strength of the elephants but also show they can be
very intelligent, gentle and obedient. The show concludeds with a
mock battle illustrating what was formerly an important part of
their duties.
The round-up is those days was an annual state ceremony presided
over by the king himself. There were prayers and citations devised
for the ceremony and for the taming of captured elephants
afterwards. In recent times, the event has been revived and has
become a major tourist attraction for the country, with the province
of Surin as the main centre of activities. The event draws more and
more visitors each year.
The event is the occasion for great fun in which the visitor is
welcome to join. It also offers superb opportunities for learning
about the distinct folk culture of the Northeast.
เทศกาลคล้องช้าง
เทศกาลที่เป็นที่ชื่นชอบกันมากที่สุดของภาคอีสานในหมู่นักท่องเที่ยวก็เห็นจะเป็นงานคล้องช้างที่
จังหวัดสุรินทร์ ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในเดือนพฤศจิกายน ชาวสุรินทร์มีชื่อเสียงเกี่ยวกับความ
สามารถในการจับช้าง ฝึกช้างป่าและคล้องช้างมาเป็นเวลานานแล้ว ในอดีตช้างป่าอาศัยอยู่ใน
ป่าใกล้ประเทศเขมร แต่โชคร้ายที่ปัจจุบันพื้นที่เหล่านี้เข้าไปไม่ได้แล้วเนื่องจากสงครามกลาง
เมืองในประเทศนั้น และในขณะเดียวกันประชากรของช้างก็มีจำนวนลดลงอย่างเห็นได้ชัด ทุก
วันนี้ควาญช้างจึงต้องอาศัยการดำรงชีพโดยนำช้างไปแสดงการละเล่นต่างๆ เพื่อขอเงินจากคน
ดูทั่วทั้งประเทศ
งานคล้องช้างสุรินทร์ที่จัดว่ายิ่งใหญ่ที่สุดก็คือการแสดงที่จัดไว้อย่างสวยงามเพื่อให้เห็นความชาญ
ฉลาดและความสามารถของสัตว์ที่เก่งกาจเหล่านี้ งานคล้องช้างจัดขึ้นครั้งแรกในปี พุทธศักราช
2503 งานคล้องช้างนี้จะเริ่มด้วยขบวนใหญ่โตของช้างจำนวนหลายเชือก (โดยปกติประมาณ
120-150 เชือก) ซึ่งจะมีทั้งลูกช้างอายุ 2-3 สัปดาห์ ไปจนถึงช้างที่ได้รับการฝึกมาเป็นอย่าง
ดีและมีประสบการณ์หลายสิบปี
ในช่วงการแสดงช้างขนาดใหญ่หลายร้อยเชือกจะแสดงให้เห็นถึงพละกำลังของมันในการลากซุง
เตะฟุตบอลและการแข่งขันชักเย่อกับมนุษย์ การแสดงอื่นๆ ที่นำมาแสดงไม่ใช่เพื่อให้เห็นถึงพละ
กำลังอันมหาศาลของช้างเท่านั้น แต่ยังแสดงให้เห็นถึงความชาญฉลาด ความสุภาพและความ
แสนรู้ของมันอีกด้วย การแสดงจบลงด้วยการจำลองการทำสงคราม ซึ่งช้างก็เคยมีส่วนสำคัญใน
การศึกอีกด้วย
ในอดีต การคล้องช้างเป็นพระราชพิธีประจำปีซึ่งพระมหากษัตริย์จะเสด็จมาเป็นองค์ประธานใน
พิธีและจะมีการสวดและร่ายเวทมนตร์เพื่อพิธีนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งก็เพื่อให้ช้างที่จับมาได้เชื่อ
นั่นเอง พิธีนี้ได้ถูกรื้อฟื้นขึ้นมาอีกครั้งเมื่อไม่นานมานี้และได้กลายเป็นจุดสำคัญที่ดึงดูดนักท่อง
เที่ยวให้เข้ามาในประเทศในเวลาต่อมา โดยให้จังหวัดสุรินทร์เป็นศูนย์กลางของงานนี้ งาน
คล้องช้างก็เริ่มดึงดูดนักท่องเที่ยวมากขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี
งานนี้เป็นงานที่นักท่องเที่ยวจะมีโอกาสได้สนุกสนานที่สุดงานหนึ่งที่จะเข้าชมได้ และเป็นโอกาส
ดีที่จะได้เรียนรู้วัฒนธรรมพื้นบ้านของชาวอีสาน
Tak Bat Devo and Chak Phra Festivals-เทศกาลตักบาตรเทโวและประเพณี
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Tak Bat Devo and Chak Phra Festivals-เทศกาลตักบาตรเทโวและประเพณี
ชักพระ
ตอนที่ : 16
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 22:09:49
เข้าชม : 1635
เนื้อเรื่อง
Tak Bat Devo and Chak Phra Festivals
There is a Buddhist myth that during one Rains Retreat or “Khao
Phansa” Lord Buddha went to heaven to deliver a sermon to his mother
who died after giving birth to Lord Buddha (then Prince Siddharatha)
and was born again in heaven. The sermon given was said to last for
the entire period of the Rains Retreat (3 months).
Upon completing his mission in heaven, Lord Buddha then returned to
earth and was greeted by a crowd of his disciples and followers. To
commemorate this event, two public festivals are held, namely; the
“Tak Bat Devo” in the central region and the “Chak Phra” in the
south. Both portray the event of Lord Buddha’s return to earth and
annually take place immediately after the end of the 3-month Rains
Retreat. However, the celebration of these two festivals may be
different in its preparation and practices. In other words, Tak Bat
Devo means “offering of food to Buddhist monks”. The celebration is
an imitation of Lord Buddha’s descent from heaven. Thus, a high
place such as the hill is preferably used as a starting point, the
Golden Mount of Wat Sraket in Bangkok is a good example of this. But
for the temple built far away from the hill, the consecrated
assembly hall (or Uposatha) can also be used as a starting point.
When all is ready, the row of Buddhist monks, headed by the image of
a standing Buddha carried by men representing God Indra and God
Brahma, will move slowly along the path arranged in advance. People
then offer a variety of food and fruit to the passing monks. The
rite ends when the last monk in the row finishes the entire route.
Meanwhile, Chak Phra literally means “pulling of the Buddhist monks”
and it is celebrated in many southern provinces such as Nakhon Si
Thammarat, Pattani, Phatthalung, Songkhla and Yala. The most
impressive Chak Phra festival is on the Tapi River in Surat Thani
Province. To mark this occasion, two float-pulling ceremonies are
held, one on land and the other on water. On land, the splendidly
adorned floats are pulled across the town by the participants of the
ceremony. At the same time, on water, the ceremony is highlighted by
a float decorated in colourful Thai design of a float made to carry
the Buddha image. This float is then towed to the middle of the
river for a religious ceremony. On the following day, the float
carrying the Buddha image is towed along the river so that people
can worship and make merit. Both land and river events are highly
colourful. The Chak Phra festival then concludes with an exciting
boat race and a traditional game.
เทศกาลตักบาตรเทโวและประเพณีชักพระ
ตามตำนานทางศาสนาพุทธกล่าวว่าในช่วงฤดูเข้าพรรษาฤดูกาลหนึ่ง องค์สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปบนสวรรค์ เพื่อแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพระมารดา ผู้ซึ่งหลังจากที่
คลอดเจ้าชายสิทธัตถะแล้วก็สิ้นพระชนม์ลงและได้เกิดเป็นเทพยาอยู่บนสวรรค์ในเวลาต่อมา
กล่าวกันว่าพระธรรมเทศนาที่ทรงแสดงแก่พระมารดานี้มีความยาวตลอดทั้งพรรษา (3 เดือน)
จึงจบลง
หลังจากที่เสร็จสิ้นภารกิจบนสวรรค์แล้ว พระพุทธเจ้าได้เสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ พระองค์ได้รับ
การต้อนรับจากฝูงชนทั้งที่เป็นพระสาวกและผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาเป็นจำนวนมาก และเพื่อเป็นการ
ระลึกถึงวันนี้ในครั้งพุทธกาล จึงได้มีการจัดงานเทศกาลขึ้น 2 งานด้วยกันกล่าวคือ “ตักบาตร
เทโว” ซึ่งจัดขึ้นในภาคกลางและ “ประเพณีชักพระ” จัดขึ้นทางภาคใต้ของประเทศ ทั้ง 2
งานนี้ต่างก็จัดขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นการเสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และทุกๆ ปีก็จะจัดให้มีขึ้นทันทีหลังจากออกพรรษาแล้ว อย่างไรก็ตามการเฉลิมฉลองของงาน
เทศกาลทั้ง 2 นี้ อาจจะแตกต่างกันบ้างทางด้านการตระเตรียมงานและถือปฏิบัติกล่าวคือ การ
ตักบาตรเทโวซึ่งหมายถึง “การถวายอาหารแก่พระสงฆ์” งานฉลองจึงเป็นการจำลอง
เหตุการณ์ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ ดังนั้นจุดเริ่มต้นของขบวนแห่จึงมักนิยมใช้ที่
สูงๆ เช่นเนินเขา สำหรับในกรุงเทพมหานครนั้น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ภูเขาทอง วัดสระ
เกศ แต่สำหรับวัดที่ตั้งอยู่ห่างจากเนินเขาก็จะใช้พระอุโบสถเป็นจุดเริ่มต้นขบวนแห่
เมื่อทุกคนเตรียมพร้อมแล้ว พระสงฆ์จะยืนเรียงแถวในขบวนซึ่งจะนำโดยพระพุทธรูปในท่ายืน
อัญเชิญโดยชายผู้ซึ่งได้รับการสมมุติให้เป็นพระอินทร์และพระพรหม แล้วจึงค่อยๆ เคลื่อนขบวน
แห่ไปตามทางที่เตรียมไว้ ประชาชนก็จะถวายอาหารและผลไม้ต่างๆ แก่พระสงฆ์ที่จะเดินผ่าน
มาข้างหน้าตน พิธีจะจบลงเมื่อพระสงฆ์รูปสุดท้ายในขบวนเดินครบรอบ
ในขณะเดียวกัน คำว่า “ชักพระ” ถ้าแปลตามตัวก็คือ “การดึงพระ” นั่นเอง และส่วนใหญ่ก็จะ
จัดขึ้นในหลายจังหวัดทางภาคใต้ เช่น ที่นครศรีธรรมราช ปัตตานี พัทลุง สงขลา และยะลา
ประเพณีชักพระที่น่าตื่นตามากที่สุดก็เห็นจะเป็นที่แม่น้ำตาปี ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็นการ
ฉลองโอกาสนี้ก็จะมีพิธีจัดขบวนแห่ขึ้น 2 ขบวนพร้อม ๆ กันกล่าวคือ สำหรับแห่ทางบกและทาง
น้ำ สำหรับขบวนแห่ทางบกนั้นก็จะมีการประดับประดารถขบวนอย่างสวยงามแล้วก็จะถูกลากไป
รอบ ๆ เมือง โดยผู้ที่มาเข้าร่วมในขบวนแห่นั้น ในขณะเดียวกันประเพณีทางน้ำนั้นก็มีจุดเด่นอยู่
ที่การประดับตกแต่งทุ่นหรือแพปะรำพิธีด้วยลวดลายไทยสีต่าง ๆ เพื่อใช้ประดิษฐานพระพุทธรูป
ทุ่นนี้ก็จะถูกลากจูงไปยังกลางแม่น้ำเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา พอถึงวันรุ่งขึ้นทุ่นที่ใช้ประดิษฐาน
พระพุทธรูปนี้ก็จะถูกลากจูงไปตามลำน้ำ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะบูชาและทำบุญ ขบวนแห่ทั้ง
ทางน้ำและทางบกต่างก็เป็นเหตุการณ์ที่สวยงามมาก ประเพณีชักพระนี้ก็จะจบลงด้วยการแข่ง
เรืออันน่าตื่นตาตื่นใจพร้อมกับการละเล่นทางประเพณีต่าง ๆ
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Tak Bat Devo and Chak Phra Festivals-เทศกาลตักบาตรเทโวและประเพณี
ชักพระ
ตอนที่ : 16
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 22:09:49
เข้าชม : 1635
เนื้อเรื่อง
Tak Bat Devo and Chak Phra Festivals
There is a Buddhist myth that during one Rains Retreat or “Khao
Phansa” Lord Buddha went to heaven to deliver a sermon to his mother
who died after giving birth to Lord Buddha (then Prince Siddharatha)
and was born again in heaven. The sermon given was said to last for
the entire period of the Rains Retreat (3 months).
Upon completing his mission in heaven, Lord Buddha then returned to
earth and was greeted by a crowd of his disciples and followers. To
commemorate this event, two public festivals are held, namely; the
“Tak Bat Devo” in the central region and the “Chak Phra” in the
south. Both portray the event of Lord Buddha’s return to earth and
annually take place immediately after the end of the 3-month Rains
Retreat. However, the celebration of these two festivals may be
different in its preparation and practices. In other words, Tak Bat
Devo means “offering of food to Buddhist monks”. The celebration is
an imitation of Lord Buddha’s descent from heaven. Thus, a high
place such as the hill is preferably used as a starting point, the
Golden Mount of Wat Sraket in Bangkok is a good example of this. But
for the temple built far away from the hill, the consecrated
assembly hall (or Uposatha) can also be used as a starting point.
When all is ready, the row of Buddhist monks, headed by the image of
a standing Buddha carried by men representing God Indra and God
Brahma, will move slowly along the path arranged in advance. People
then offer a variety of food and fruit to the passing monks. The
rite ends when the last monk in the row finishes the entire route.
Meanwhile, Chak Phra literally means “pulling of the Buddhist monks”
and it is celebrated in many southern provinces such as Nakhon Si
Thammarat, Pattani, Phatthalung, Songkhla and Yala. The most
impressive Chak Phra festival is on the Tapi River in Surat Thani
Province. To mark this occasion, two float-pulling ceremonies are
held, one on land and the other on water. On land, the splendidly
adorned floats are pulled across the town by the participants of the
ceremony. At the same time, on water, the ceremony is highlighted by
a float decorated in colourful Thai design of a float made to carry
the Buddha image. This float is then towed to the middle of the
river for a religious ceremony. On the following day, the float
carrying the Buddha image is towed along the river so that people
can worship and make merit. Both land and river events are highly
colourful. The Chak Phra festival then concludes with an exciting
boat race and a traditional game.
เทศกาลตักบาตรเทโวและประเพณีชักพระ
ตามตำนานทางศาสนาพุทธกล่าวว่าในช่วงฤดูเข้าพรรษาฤดูกาลหนึ่ง องค์สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าได้เสด็จขึ้นไปบนสวรรค์ เพื่อแสดงพระธรรมเทศนาโปรดพระมารดา ผู้ซึ่งหลังจากที่
คลอดเจ้าชายสิทธัตถะแล้วก็สิ้นพระชนม์ลงและได้เกิดเป็นเทพยาอยู่บนสวรรค์ในเวลาต่อมา
กล่าวกันว่าพระธรรมเทศนาที่ทรงแสดงแก่พระมารดานี้มีความยาวตลอดทั้งพรรษา (3 เดือน)
จึงจบลง
หลังจากที่เสร็จสิ้นภารกิจบนสวรรค์แล้ว พระพุทธเจ้าได้เสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ พระองค์ได้รับ
การต้อนรับจากฝูงชนทั้งที่เป็นพระสาวกและผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาเป็นจำนวนมาก และเพื่อเป็นการ
ระลึกถึงวันนี้ในครั้งพุทธกาล จึงได้มีการจัดงานเทศกาลขึ้น 2 งานด้วยกันกล่าวคือ “ตักบาตร
เทโว” ซึ่งจัดขึ้นในภาคกลางและ “ประเพณีชักพระ” จัดขึ้นทางภาคใต้ของประเทศ ทั้ง 2
งานนี้ต่างก็จัดขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นการเสด็จกลับสู่โลกมนุษย์ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
และทุกๆ ปีก็จะจัดให้มีขึ้นทันทีหลังจากออกพรรษาแล้ว อย่างไรก็ตามการเฉลิมฉลองของงาน
เทศกาลทั้ง 2 นี้ อาจจะแตกต่างกันบ้างทางด้านการตระเตรียมงานและถือปฏิบัติกล่าวคือ การ
ตักบาตรเทโวซึ่งหมายถึง “การถวายอาหารแก่พระสงฆ์” งานฉลองจึงเป็นการจำลอง
เหตุการณ์ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ ดังนั้นจุดเริ่มต้นของขบวนแห่จึงมักนิยมใช้ที่
สูงๆ เช่นเนินเขา สำหรับในกรุงเทพมหานครนั้น ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ภูเขาทอง วัดสระ
เกศ แต่สำหรับวัดที่ตั้งอยู่ห่างจากเนินเขาก็จะใช้พระอุโบสถเป็นจุดเริ่มต้นขบวนแห่
เมื่อทุกคนเตรียมพร้อมแล้ว พระสงฆ์จะยืนเรียงแถวในขบวนซึ่งจะนำโดยพระพุทธรูปในท่ายืน
อัญเชิญโดยชายผู้ซึ่งได้รับการสมมุติให้เป็นพระอินทร์และพระพรหม แล้วจึงค่อยๆ เคลื่อนขบวน
แห่ไปตามทางที่เตรียมไว้ ประชาชนก็จะถวายอาหารและผลไม้ต่างๆ แก่พระสงฆ์ที่จะเดินผ่าน
มาข้างหน้าตน พิธีจะจบลงเมื่อพระสงฆ์รูปสุดท้ายในขบวนเดินครบรอบ
ในขณะเดียวกัน คำว่า “ชักพระ” ถ้าแปลตามตัวก็คือ “การดึงพระ” นั่นเอง และส่วนใหญ่ก็จะ
จัดขึ้นในหลายจังหวัดทางภาคใต้ เช่น ที่นครศรีธรรมราช ปัตตานี พัทลุง สงขลา และยะลา
ประเพณีชักพระที่น่าตื่นตามากที่สุดก็เห็นจะเป็นที่แม่น้ำตาปี ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อเป็นการ
ฉลองโอกาสนี้ก็จะมีพิธีจัดขบวนแห่ขึ้น 2 ขบวนพร้อม ๆ กันกล่าวคือ สำหรับแห่ทางบกและทาง
น้ำ สำหรับขบวนแห่ทางบกนั้นก็จะมีการประดับประดารถขบวนอย่างสวยงามแล้วก็จะถูกลากไป
รอบ ๆ เมือง โดยผู้ที่มาเข้าร่วมในขบวนแห่นั้น ในขณะเดียวกันประเพณีทางน้ำนั้นก็มีจุดเด่นอยู่
ที่การประดับตกแต่งทุ่นหรือแพปะรำพิธีด้วยลวดลายไทยสีต่าง ๆ เพื่อใช้ประดิษฐานพระพุทธรูป
ทุ่นนี้ก็จะถูกลากจูงไปยังกลางแม่น้ำเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา พอถึงวันรุ่งขึ้นทุ่นที่ใช้ประดิษฐาน
พระพุทธรูปนี้ก็จะถูกลากจูงไปตามลำน้ำ เพื่อให้ประชาชนได้สักการะบูชาและทำบุญ ขบวนแห่ทั้ง
ทางน้ำและทางบกต่างก็เป็นเหตุการณ์ที่สวยงามมาก ประเพณีชักพระนี้ก็จะจบลงด้วยการแข่ง
เรืออันน่าตื่นตาตื่นใจพร้อมกับการละเล่นทางประเพณีต่าง ๆ
Long-boat Racing-เทศกาลแข่งเรือยาว
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Long-boat Racing-เทศกาลแข่งเรือยาว
ตอนที่ : 13
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 21:55:40
เข้าชม : 2294
เนื้อเรื่อง
Long-boat Racing
Long-boat Racing is one of the traditional rites which marks the end
of the Buddhist Rains Retreat. It mainly takes place in the 11th or
12th lunar months (around September or October). When the water
level is at its highest. At this time, racing is held almost
nationwide, notably in Phichit, Phitsanuloke, Nan, Angthong,
Pathumthani, Surat Thani and Ayutthaya etc.
Traditionally, long-boat racing is held as an annual event by
provinces with a major waterway flowing through. It is not
restricted to any particular region. At present, long-boat racing is
considered as a national sport, its history can be traced back to
Ayutthaya period some 600 years ago. However, boat racing in those
days was just only a means to keep boat men physically and mentally
fit for national defence.
Usually racing boats are made from dugout tree trunks and can
accommodate up to 60 oarsmen sitting in a double row. The oarsmen
usually dress in the same colour. The festive event draws several
hundreds of local and foreign spectators who watch the race along
both sides of the riverbank enthusiastically. At the end, trophies
and prizes are given to the winning teams.
การแข่งเรือยาว
การแข่งเรือยาวเป็นประเพณีอย่างหนึ่งซึ่งจัดขึ้นในช่วงสิ้นสุดฤดูกาลเข้าพรรษา โดยปกติแล้วจะ
มีขึ้นในเดือน 11 หรือ 12 (ประมาณเดือนกันยายนหรือตุลาคม) เมื่อระดับน้ำขึ้นสูงสุด ณ
เวลานี้ การแข่งขันจะจัดขึ้นเกือบทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก
น่าน อ่างทอง ปทุมธานี สุราษฎร์ธานีและอยุธยา เป็นต้น
ตามประเพณีแล้ว การแข่งเรือยาวจะจัดขึ้นเป็นงานประจำปี โดยจังหวัดซึ่งมีทางน้ำใหญ่ไหล
ผ่านไม่ได้จำกัดอยู่แต่เฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง ปัจจุบันนี้ การแข่งเรือยาวถือเป็นกีฬาประจำชาติ
ประวัติการแข่งขันเรือยาวนี้ย้อนกลับไปในยุคกรุงศรีอยุธยาประมาณ 600 ปีมาแล้ว แต่ว่าการ
แข่งเรือในสมัยนั้นเป็นเพียงเพื่อให้นักพายเรือมีความพร้อมทั้งทางด้านกายและจิตใจเพื่อการ
ป้องกันประเทศ
โดยปกติเรือแข่งนี้จะทำจากลำต้นไม้ขุดและสามารถบรรจุฝีพายได้ถึง 60 คนนั่งคู่กันสองแถว
ตามปกติแล้ว ฝีพายจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีเดียวกัน ประเพณีนี้จะดึงดูดคนดูทั้งชาวไทยและชาว
ต่างประเทศหลายร้อยคนผู้ซึ่งจะนั่งดูการแข่งขันบนฝั่งแม่น้ำสองฝั่งอย่างกระตือรือล้น เมื่อสิ้นสุด
การแข่งขันก็จะมีการแจกถ้วยและรางวัลให้แก่ทีมที่ชนะด้วย
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Long-boat Racing-เทศกาลแข่งเรือยาว
ตอนที่ : 13
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 21:55:40
เข้าชม : 2294
เนื้อเรื่อง
Long-boat Racing
Long-boat Racing is one of the traditional rites which marks the end
of the Buddhist Rains Retreat. It mainly takes place in the 11th or
12th lunar months (around September or October). When the water
level is at its highest. At this time, racing is held almost
nationwide, notably in Phichit, Phitsanuloke, Nan, Angthong,
Pathumthani, Surat Thani and Ayutthaya etc.
Traditionally, long-boat racing is held as an annual event by
provinces with a major waterway flowing through. It is not
restricted to any particular region. At present, long-boat racing is
considered as a national sport, its history can be traced back to
Ayutthaya period some 600 years ago. However, boat racing in those
days was just only a means to keep boat men physically and mentally
fit for national defence.
Usually racing boats are made from dugout tree trunks and can
accommodate up to 60 oarsmen sitting in a double row. The oarsmen
usually dress in the same colour. The festive event draws several
hundreds of local and foreign spectators who watch the race along
both sides of the riverbank enthusiastically. At the end, trophies
and prizes are given to the winning teams.
การแข่งเรือยาว
การแข่งเรือยาวเป็นประเพณีอย่างหนึ่งซึ่งจัดขึ้นในช่วงสิ้นสุดฤดูกาลเข้าพรรษา โดยปกติแล้วจะ
มีขึ้นในเดือน 11 หรือ 12 (ประมาณเดือนกันยายนหรือตุลาคม) เมื่อระดับน้ำขึ้นสูงสุด ณ
เวลานี้ การแข่งขันจะจัดขึ้นเกือบทั่วทั้งประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดพิจิตร พิษณุโลก
น่าน อ่างทอง ปทุมธานี สุราษฎร์ธานีและอยุธยา เป็นต้น
ตามประเพณีแล้ว การแข่งเรือยาวจะจัดขึ้นเป็นงานประจำปี โดยจังหวัดซึ่งมีทางน้ำใหญ่ไหล
ผ่านไม่ได้จำกัดอยู่แต่เฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง ปัจจุบันนี้ การแข่งเรือยาวถือเป็นกีฬาประจำชาติ
ประวัติการแข่งขันเรือยาวนี้ย้อนกลับไปในยุคกรุงศรีอยุธยาประมาณ 600 ปีมาแล้ว แต่ว่าการ
แข่งเรือในสมัยนั้นเป็นเพียงเพื่อให้นักพายเรือมีความพร้อมทั้งทางด้านกายและจิตใจเพื่อการ
ป้องกันประเทศ
โดยปกติเรือแข่งนี้จะทำจากลำต้นไม้ขุดและสามารถบรรจุฝีพายได้ถึง 60 คนนั่งคู่กันสองแถว
ตามปกติแล้ว ฝีพายจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีเดียวกัน ประเพณีนี้จะดึงดูดคนดูทั้งชาวไทยและชาว
ต่างประเทศหลายร้อยคนผู้ซึ่งจะนั่งดูการแข่งขันบนฝั่งแม่น้ำสองฝั่งอย่างกระตือรือล้น เมื่อสิ้นสุด
การแข่งขันก็จะมีการแจกถ้วยและรางวัลให้แก่ทีมที่ชนะด้วย
The Phi Ta Khon ผีตาโขน
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Phi Ta Khon
ตอนที่ : 10
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:34:43
เข้าชม : 3289
เนื้อเรื่อง
The Phi Ta Khon
(Ghost Festival)
Phi Ta Khon is a type of masked procession celebrated on the first
day of a three-day Buddhist merit-making holiday known in Thai as
“Boon Pra Wate”. The annual festival takes place in *May, June or
July at a small town of Dan Sai in the northeastern province of Loei.
Participants of the festival dress up like ghosts and monsters
wearing huge masks made from carved coconut-tree trunks, topped with
a wicker-work sticky-rice steamer. The procession is marked by a lot
of music and dancing.
The precise origin of the Phi Ta khon is unclear. However, it can be
traced back to a traditional Buddhist folklore. In the Buddha’s next
to last life, he was the beloved Prince Vessandorn. The prince was
said to go on a long trip for such a long time that his subjects
forgot him and even thought that he was already dead. When he
suddenly returned, his people were over-joyed. They welcomed him
back with a celebration so loud that it even awoke the dead who then
joined in all the fun.
From that time onward the faithful came to commemorate the event
with ceremonies, celebrations and the donning of ghostly spirit
masks. The reasons behind all the events is probably due to the fact
that it was held to evoke the annual rains from the heavens by
farmers and to bless crops.
On the second day, the villagers dance their way to the temple and
fire off the usual bamboo rockets to signal the end of the
procession. The festival organisers also hold contests for the best
masks, costumes and dancers, and brass plaques are awarded to the
winners in each age group. The most popular is the dancing contest.
Then comes the last day of the event, the villagers then gather at
the local temple, Wat Ponchai, to listen to the message of the
thirteen sermons of the Lord Buddha recited by the local monks.
Then it is time for the revellers to put away their ghostly masks
and costumes for another year. From now on, they must again return
to the paddy fields to eke out their living through rice farming as
their forefathers did.
ผีตาโขน
ผีตาโขนคือขบวนแห่ใส่หน้ากาก ซึ่งพิธีฉลองจัดขึ้นในวันแรกของพิธีทำบุญ 3 วัน เรียกว่า “บุญ
พระเวส” ในภาษาไทย เทศกาลประจำปีนี้จะมีขึ้นในเดือน *พฤษภาคม มิถุนายน หรือ
กรกฎาคม ที่เมืองเล็กๆ แห่งหนึ่ง ชื่อด่านซ้าย ในจังหวัดเลยของภาคอีสาน
ผู้เข้าร่วมในพิธีนี้จะแต่งกายคล้ายผีและปีศาจใส่หน้ากากขนาดใหญ่ ทำจากต้นมะพร้าวแกะสลัก
และสวมศรีษะด้วยกระติ๊บข้าวเหนียว ในขบวนแห่จะประกอบไปด้วยการร้องรำทำเพลงอย่าง
สนุกสนาน
ต้นกำเนิดของพิธีผีตาโขนไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัด แต่ก็พอที่จะท้าวความไปยังตำนานทางพุทธ
ศาสนาได้ว่า ในชาติก่อนหน้าที่จะถือกำเนิดมาเป็นพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงถือกำเนิดเป็น
เจ้าชาย ผู้เป็นที่รักยิ่งของทวยราษฎร์ ทรงพระนามว่า พระเวสสันดร กล่าวกันว่าพระองค์ทรง
เสด็จออกนอกพระนครไปเป็นเวลานานเสียจนเหล่าพสกนิกรของพระองค์ลืมพระองค์ไปแล้ว
และยังคิดว่าพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ไปเสียแล้วด้วยซ้ำไป แต่จู่ ๆ พระองค์ก็เสด็จกลับมา
พสกนิกรของพระองค์ต่างปลื้ม ปีติยินดีเป็นอย่างยิ่ง จึงพร้อมใจกันเฉลิมฉลองการเสด็จกลับมา
อย่างเอิกเกริกส่งเสียงดังกึกก้อง จนกระทั่งปลุกผู้ที่ตายไปแล้วให้มาเข้าร่วมสนุกสนานรื่นเริง
ไปด้วย
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาต่างพากันมาร่วมระลึกนึกถึงเหตุการณ์นี้ด้วยการจัดพิธีต่าง
ๆ การเฉลิมฉลองและการแต่งกายใส่หน้ากากคล้ายภูตผีปีศาจ แต่เหตุผลที่แท้จริง เบื้องหลังพิธี
นี้ก็อาจจะเนื่องมาจากความจริงที่ว่าชาวนาต้องการกระตุ้นฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล และเพื่อ
เป็นการให้ศีลให้พรแก่พืชผลอีกด้วย
ในวันที่ 2 ของงานบุญนี้ ชาวบ้านจะร้องรำทำเพลงไปตามทางสู่วัด แล้วจึงจุดบั้งไฟเพื่อส่ง
สัญญาณให้รู้ว่า ขบวนแห่ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว นอกจากนี้ผู้ที่จัดงาน ก็ยังจัดให้มีการประกวด
หน้ากากที่สวยงามที่สุด การแต่งกายและผู้ที่รำสวย แล้วยังมีการแจกโล่ห์ทองเหลืองแก่ผู้ชนะใน
แต่ละวัยอีกด้วย แต่สิ่งที่ชื่นชอบกันมากที่สุด ก็เห็นจะเป็นการแข่งขันเต้นรำ
และเมื่อวันสุดท้ายของงานบุญมาถึง ชาวบ้านก็จะไปรวมกันที่วัดโพนชัย เพื่อฟังพระธรรมเทศนา
13 กัณฑ์ แสดงโดยพระภิกษุวัดนั้น
และแล้ววันเวลาแห่งการถอดหน้ากากปีศาจและเครื่องแต่งกาย เพื่อสวมใส่ในปีต่อไปก็มาถึง
นับจากนี้ไปพวกเขาต้องกลับไปสู่ท้องนาอีกครั้ง โดยการทำนาเพื่อหาเลี้ยงชีพ ตามอย่าง
บรรพบุรุษของตนที่สืบทอดกันมา
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Phi Ta Khon
ตอนที่ : 10
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:34:43
เข้าชม : 3289
เนื้อเรื่อง
The Phi Ta Khon
(Ghost Festival)
Phi Ta Khon is a type of masked procession celebrated on the first
day of a three-day Buddhist merit-making holiday known in Thai as
“Boon Pra Wate”. The annual festival takes place in *May, June or
July at a small town of Dan Sai in the northeastern province of Loei.
Participants of the festival dress up like ghosts and monsters
wearing huge masks made from carved coconut-tree trunks, topped with
a wicker-work sticky-rice steamer. The procession is marked by a lot
of music and dancing.
The precise origin of the Phi Ta khon is unclear. However, it can be
traced back to a traditional Buddhist folklore. In the Buddha’s next
to last life, he was the beloved Prince Vessandorn. The prince was
said to go on a long trip for such a long time that his subjects
forgot him and even thought that he was already dead. When he
suddenly returned, his people were over-joyed. They welcomed him
back with a celebration so loud that it even awoke the dead who then
joined in all the fun.
From that time onward the faithful came to commemorate the event
with ceremonies, celebrations and the donning of ghostly spirit
masks. The reasons behind all the events is probably due to the fact
that it was held to evoke the annual rains from the heavens by
farmers and to bless crops.
On the second day, the villagers dance their way to the temple and
fire off the usual bamboo rockets to signal the end of the
procession. The festival organisers also hold contests for the best
masks, costumes and dancers, and brass plaques are awarded to the
winners in each age group. The most popular is the dancing contest.
Then comes the last day of the event, the villagers then gather at
the local temple, Wat Ponchai, to listen to the message of the
thirteen sermons of the Lord Buddha recited by the local monks.
Then it is time for the revellers to put away their ghostly masks
and costumes for another year. From now on, they must again return
to the paddy fields to eke out their living through rice farming as
their forefathers did.
ผีตาโขน
ผีตาโขนคือขบวนแห่ใส่หน้ากาก ซึ่งพิธีฉลองจัดขึ้นในวันแรกของพิธีทำบุญ 3 วัน เรียกว่า “บุญ
พระเวส” ในภาษาไทย เทศกาลประจำปีนี้จะมีขึ้นในเดือน *พฤษภาคม มิถุนายน หรือ
กรกฎาคม ที่เมืองเล็กๆ แห่งหนึ่ง ชื่อด่านซ้าย ในจังหวัดเลยของภาคอีสาน
ผู้เข้าร่วมในพิธีนี้จะแต่งกายคล้ายผีและปีศาจใส่หน้ากากขนาดใหญ่ ทำจากต้นมะพร้าวแกะสลัก
และสวมศรีษะด้วยกระติ๊บข้าวเหนียว ในขบวนแห่จะประกอบไปด้วยการร้องรำทำเพลงอย่าง
สนุกสนาน
ต้นกำเนิดของพิธีผีตาโขนไม่ปรากฏเป็นที่แน่ชัด แต่ก็พอที่จะท้าวความไปยังตำนานทางพุทธ
ศาสนาได้ว่า ในชาติก่อนหน้าที่จะถือกำเนิดมาเป็นพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ทรงถือกำเนิดเป็น
เจ้าชาย ผู้เป็นที่รักยิ่งของทวยราษฎร์ ทรงพระนามว่า พระเวสสันดร กล่าวกันว่าพระองค์ทรง
เสด็จออกนอกพระนครไปเป็นเวลานานเสียจนเหล่าพสกนิกรของพระองค์ลืมพระองค์ไปแล้ว
และยังคิดว่าพระองค์ทรงสิ้นพระชนม์ไปเสียแล้วด้วยซ้ำไป แต่จู่ ๆ พระองค์ก็เสด็จกลับมา
พสกนิกรของพระองค์ต่างปลื้ม ปีติยินดีเป็นอย่างยิ่ง จึงพร้อมใจกันเฉลิมฉลองการเสด็จกลับมา
อย่างเอิกเกริกส่งเสียงดังกึกก้อง จนกระทั่งปลุกผู้ที่ตายไปแล้วให้มาเข้าร่วมสนุกสนานรื่นเริง
ไปด้วย
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาต่างพากันมาร่วมระลึกนึกถึงเหตุการณ์นี้ด้วยการจัดพิธีต่าง
ๆ การเฉลิมฉลองและการแต่งกายใส่หน้ากากคล้ายภูตผีปีศาจ แต่เหตุผลที่แท้จริง เบื้องหลังพิธี
นี้ก็อาจจะเนื่องมาจากความจริงที่ว่าชาวนาต้องการกระตุ้นฝนให้ตกต้องตามฤดูกาล และเพื่อ
เป็นการให้ศีลให้พรแก่พืชผลอีกด้วย
ในวันที่ 2 ของงานบุญนี้ ชาวบ้านจะร้องรำทำเพลงไปตามทางสู่วัด แล้วจึงจุดบั้งไฟเพื่อส่ง
สัญญาณให้รู้ว่า ขบวนแห่ได้เสร็จสิ้นลงแล้ว นอกจากนี้ผู้ที่จัดงาน ก็ยังจัดให้มีการประกวด
หน้ากากที่สวยงามที่สุด การแต่งกายและผู้ที่รำสวย แล้วยังมีการแจกโล่ห์ทองเหลืองแก่ผู้ชนะใน
แต่ละวัยอีกด้วย แต่สิ่งที่ชื่นชอบกันมากที่สุด ก็เห็นจะเป็นการแข่งขันเต้นรำ
และเมื่อวันสุดท้ายของงานบุญมาถึง ชาวบ้านก็จะไปรวมกันที่วัดโพนชัย เพื่อฟังพระธรรมเทศนา
13 กัณฑ์ แสดงโดยพระภิกษุวัดนั้น
และแล้ววันเวลาแห่งการถอดหน้ากากปีศาจและเครื่องแต่งกาย เพื่อสวมใส่ในปีต่อไปก็มาถึง
นับจากนี้ไปพวกเขาต้องกลับไปสู่ท้องนาอีกครั้ง โดยการทำนาเพื่อหาเลี้ยงชีพ ตามอย่าง
บรรพบุรุษของตนที่สืบทอดกันมา
Yee Peng Festival ประเพณียี่เป็ง
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Yee Peng Festival ประเพณียี่เป็ง
ตอนที่ : 8
อัพเดตเมื่อ : 18/9/2551 19:15:54
เข้าชม : 3096
เนื้อเรื่อง
Yee Peng Festival
*Yee Peng* is the annual festival held to celebrate the full moon in
the northern capital of Chiang Mai on the day preceding *Loy
Krathong* by one day in November. The word “Yee Peng” is the
northern Thai term referring to the full moon of the 12th lunar
month in the Buddhist calendar.
The festival is celebrated as a religious event in which local
people throughout the region make merit and other religious
activities. The highlight of the event focuses on the launching of
the* Khom loy* or floating lanterns into the night sky with the
belief that misfortune will fly away with the lanterns. It is their
belief, if the lanterns are made and offered to monks, they will
receive wisdom in return as the flame in the lantern is said to
symbolise knowledge and the light it gives will guide them to the
right path of their lives.
Meanwhile, “Khom loy” is a Thai word signifying the floating lantern
which is a large balloon – like made from a light bamboo frame
covered with *saa* (mulberry) paper. It floats by means of hot air
heated by a flaming torch fixed in the balloon. During the event,
both day and night local people and monks are closely involved with
the *Khom* making process. Besides, the premise of large hotels, the
temple compound is thus the appropriate venue for the launching of
the *Khom. *The activity has gained such popularity that at the
height of the event the flight training of the Royal Thai Air Force
has to be suspended until all the *Khom loy *have dispersed while
all commercial air traffic at the airport has been warned to
exercise extreme caution as the climbing lanterns could pose a
danger to the jet turbines.
To celebrate the auspicious event, companies and private individuals
make merit by sponsoring ballons to dispel bad luck and seek good
fortune. If their balloons rise high and travel far, this indicates
prosperity. It has been said that this kind of hot air balloon could
rise to heights of up to 1,250 metres and travel even as far as Hat
Yai District of the southern province of Songkhla.
The most spectacular event is held at the Thapae Gate area where
local and foreign visitors can see floats, marchers and beautiful
Yee Peng queens. As the night falls, the spectators will be excited
to see the long strings of Khom loy rise gently into the limitless
sky as they stimulate the participants’ spirits to rise higher to
the heaven. This brings joy and happiness to the merit-makers since
their ill – fortune has been floated away.
ประเพณียี่เป็ง
ยี่เป็งเป็นงานประเพณีประจำปี ซึ่งจัดขึ้นเพื่อฉลองคืนเดือนเพ็ญที่จังหวัดเชียงใหม่ในภาคเหนือ
ของไทย โดยงานจะเริ่มขึ้นในวันก่อนวันลอยกระทงหนึ่งวันในเดือนพฤศจิกายน คำว่า “ยี่เป็ง”
เป็นคำทางเหนือซึ่งหมายถึง วันเพ็ญเดือน 12 ตามปฏิทินพุทธศาสนา
ประเพณีนี้จัดฉลองเป็นพิธีทางศาสนา ซึ่งประชาชนในถิ่นนี้ทั้งหมดจะร่วมทำบุญและกิจกรรมทาง
ศาสนาอื่น ๆ ด้วย จุดเด่นของงานนี้ก็อยู่ที่การปล่อยโคมลอยขึ้นไปในท้องฟ้าในยามค่ำคืนตาม
ความเชื่อที่ว่า โคมเหล่านี้จะนำโชคร้ายต่าง ๆ ออกไป ประชาชนเชื่อว่าถ้าหากได้ทำโคมแล้ว
นำไปถวายพระพวกเขาก็จะได้รับความฉลาดเป็นสิ่งตอบแทน เพราะกล่าวกันว่า เปลวไฟใน
โคมเป็นสัญญลักษณ์ของความรู้และแสงสว่างที่ได้รับจากโคมจะนำพวกเขาไปในทางที่ถูกต้องของ
การดำเนินชีวิต
ในขณะเดียวกัน คำว่า “โคมลอย” นี้เป็นภาษาไทย ซึ่งหมายถึงโคมไฟที่ลอยได้ โดยมีรูปคล้าย
บัลลูนขนาดใหญ่ทำด้วยโครงไม้ไผ่เบา ๆ แล้วคลุมด้วยกระดาษสา บัลลูนนี้ลอยได้โดยอาศัย
อากาศร้อนโดยการจุดคบเพลิงผูกติดไว้ในบัลลูน ในช่วงมีพิธีนี้ทั้งวันทั้งคืน ชาวบ้านและพระสงฆ์
จะช่วยกันทำโคมอย่างขะมักเขม้น นอกจากบริเวณโรงแรมใหญ่ ๆ แล้ว บริเวณวัดก็จัดเป็น
สถานีที่เหมาะสำหรับการปล่อยโคมอีกด้วย กิจกรรมนี้ได้รับความนิยมมากเสียจนกระทั่งว่าใน
ช่วงสำคัญของงานการฝึกบินของกองทัพอากาศไทยต้องหยุดระงับไว้ชั่วคราวจนกว่าโคมเหล่านี้
จะลอยไปหมดแล้ว ในขณะที่การบินพาณิชย์ที่สนามบินก็ได้รับคำเตือนให้เพิ่มความระมัดระวัง
อย่างมากที่สุดเพราะโคมที่กำลังลอยขึ้นนี้อาจเป็นอันตรายต่อใบพัดของเครื่องยนต์ไอพ่นได้
เพื่อร่วมฉลองโอกาสอันเป็นมงคลนี้ บริษัทและแต่ละคนต่างก็ทำบุญโดยการออกค่าใช้จ่ายในการ
ทำบัลลูนเพื่อขับไล่โชคร้ายออกไปและให้โชคดีเข้ามาแทนที่ ถ้าหากบัลลูนของพวกเขาขึ้นไปได้
สูงและลอยไปได้ไกลมาก นี่ก็แสดงว่าเขาจะประสบความเจริญรุ่งเรือง กล่าวกันว่า บัลลูนที่ใช้
ความร้อนชนิดนี้สามารถลอยขึ้นได้สูงถึง 1,250 เมตร และลอยไปไกลได้ถึงแม้กระทั่งอำเภอ
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลาของภาคใต้
เหตุการณ์ที่น่าชมมากที่สุดจัดขึ้นที่บริเวณประตูท่าแพ ซึ่งนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่าง
ประเทศสามารถชมพุ่มต่าง ๆ การเดินขบวนและนางงามยี่เป็งได้ด้วยทันทีที่พลบค่ำคนชมจะได้
ตื่นเต้นกับการได้เห็นโคมลอยที่ดูติดกันเป็นสายยาวค่อย ๆ ลอยขึ้นไปสู่ท้องฟ้าอันเวิ้งว้างเหมือน
หนึ่งจะกระตุ้นจิตใจของผู้ที่ร่วมงานให้ลอยสูงขึ้นไปบนสวรรค์ไม่มีผิด นี่เป็นการนำมาซึ่งความ
รื่นเริงและความสุขแก่ผู้ที่ได้ทำบุญเพราะว่าโชคร้ายต่าง ๆของพวกเขาได้ถูกลอยไปพร้อม ๆ
กับโคมหมดแล้ว
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Yee Peng Festival ประเพณียี่เป็ง
ตอนที่ : 8
อัพเดตเมื่อ : 18/9/2551 19:15:54
เข้าชม : 3096
เนื้อเรื่อง
Yee Peng Festival
*Yee Peng* is the annual festival held to celebrate the full moon in
the northern capital of Chiang Mai on the day preceding *Loy
Krathong* by one day in November. The word “Yee Peng” is the
northern Thai term referring to the full moon of the 12th lunar
month in the Buddhist calendar.
The festival is celebrated as a religious event in which local
people throughout the region make merit and other religious
activities. The highlight of the event focuses on the launching of
the* Khom loy* or floating lanterns into the night sky with the
belief that misfortune will fly away with the lanterns. It is their
belief, if the lanterns are made and offered to monks, they will
receive wisdom in return as the flame in the lantern is said to
symbolise knowledge and the light it gives will guide them to the
right path of their lives.
Meanwhile, “Khom loy” is a Thai word signifying the floating lantern
which is a large balloon – like made from a light bamboo frame
covered with *saa* (mulberry) paper. It floats by means of hot air
heated by a flaming torch fixed in the balloon. During the event,
both day and night local people and monks are closely involved with
the *Khom* making process. Besides, the premise of large hotels, the
temple compound is thus the appropriate venue for the launching of
the *Khom. *The activity has gained such popularity that at the
height of the event the flight training of the Royal Thai Air Force
has to be suspended until all the *Khom loy *have dispersed while
all commercial air traffic at the airport has been warned to
exercise extreme caution as the climbing lanterns could pose a
danger to the jet turbines.
To celebrate the auspicious event, companies and private individuals
make merit by sponsoring ballons to dispel bad luck and seek good
fortune. If their balloons rise high and travel far, this indicates
prosperity. It has been said that this kind of hot air balloon could
rise to heights of up to 1,250 metres and travel even as far as Hat
Yai District of the southern province of Songkhla.
The most spectacular event is held at the Thapae Gate area where
local and foreign visitors can see floats, marchers and beautiful
Yee Peng queens. As the night falls, the spectators will be excited
to see the long strings of Khom loy rise gently into the limitless
sky as they stimulate the participants’ spirits to rise higher to
the heaven. This brings joy and happiness to the merit-makers since
their ill – fortune has been floated away.
ประเพณียี่เป็ง
ยี่เป็งเป็นงานประเพณีประจำปี ซึ่งจัดขึ้นเพื่อฉลองคืนเดือนเพ็ญที่จังหวัดเชียงใหม่ในภาคเหนือ
ของไทย โดยงานจะเริ่มขึ้นในวันก่อนวันลอยกระทงหนึ่งวันในเดือนพฤศจิกายน คำว่า “ยี่เป็ง”
เป็นคำทางเหนือซึ่งหมายถึง วันเพ็ญเดือน 12 ตามปฏิทินพุทธศาสนา
ประเพณีนี้จัดฉลองเป็นพิธีทางศาสนา ซึ่งประชาชนในถิ่นนี้ทั้งหมดจะร่วมทำบุญและกิจกรรมทาง
ศาสนาอื่น ๆ ด้วย จุดเด่นของงานนี้ก็อยู่ที่การปล่อยโคมลอยขึ้นไปในท้องฟ้าในยามค่ำคืนตาม
ความเชื่อที่ว่า โคมเหล่านี้จะนำโชคร้ายต่าง ๆ ออกไป ประชาชนเชื่อว่าถ้าหากได้ทำโคมแล้ว
นำไปถวายพระพวกเขาก็จะได้รับความฉลาดเป็นสิ่งตอบแทน เพราะกล่าวกันว่า เปลวไฟใน
โคมเป็นสัญญลักษณ์ของความรู้และแสงสว่างที่ได้รับจากโคมจะนำพวกเขาไปในทางที่ถูกต้องของ
การดำเนินชีวิต
ในขณะเดียวกัน คำว่า “โคมลอย” นี้เป็นภาษาไทย ซึ่งหมายถึงโคมไฟที่ลอยได้ โดยมีรูปคล้าย
บัลลูนขนาดใหญ่ทำด้วยโครงไม้ไผ่เบา ๆ แล้วคลุมด้วยกระดาษสา บัลลูนนี้ลอยได้โดยอาศัย
อากาศร้อนโดยการจุดคบเพลิงผูกติดไว้ในบัลลูน ในช่วงมีพิธีนี้ทั้งวันทั้งคืน ชาวบ้านและพระสงฆ์
จะช่วยกันทำโคมอย่างขะมักเขม้น นอกจากบริเวณโรงแรมใหญ่ ๆ แล้ว บริเวณวัดก็จัดเป็น
สถานีที่เหมาะสำหรับการปล่อยโคมอีกด้วย กิจกรรมนี้ได้รับความนิยมมากเสียจนกระทั่งว่าใน
ช่วงสำคัญของงานการฝึกบินของกองทัพอากาศไทยต้องหยุดระงับไว้ชั่วคราวจนกว่าโคมเหล่านี้
จะลอยไปหมดแล้ว ในขณะที่การบินพาณิชย์ที่สนามบินก็ได้รับคำเตือนให้เพิ่มความระมัดระวัง
อย่างมากที่สุดเพราะโคมที่กำลังลอยขึ้นนี้อาจเป็นอันตรายต่อใบพัดของเครื่องยนต์ไอพ่นได้
เพื่อร่วมฉลองโอกาสอันเป็นมงคลนี้ บริษัทและแต่ละคนต่างก็ทำบุญโดยการออกค่าใช้จ่ายในการ
ทำบัลลูนเพื่อขับไล่โชคร้ายออกไปและให้โชคดีเข้ามาแทนที่ ถ้าหากบัลลูนของพวกเขาขึ้นไปได้
สูงและลอยไปได้ไกลมาก นี่ก็แสดงว่าเขาจะประสบความเจริญรุ่งเรือง กล่าวกันว่า บัลลูนที่ใช้
ความร้อนชนิดนี้สามารถลอยขึ้นได้สูงถึง 1,250 เมตร และลอยไปไกลได้ถึงแม้กระทั่งอำเภอ
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลาของภาคใต้
เหตุการณ์ที่น่าชมมากที่สุดจัดขึ้นที่บริเวณประตูท่าแพ ซึ่งนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่าง
ประเทศสามารถชมพุ่มต่าง ๆ การเดินขบวนและนางงามยี่เป็งได้ด้วยทันทีที่พลบค่ำคนชมจะได้
ตื่นเต้นกับการได้เห็นโคมลอยที่ดูติดกันเป็นสายยาวค่อย ๆ ลอยขึ้นไปสู่ท้องฟ้าอันเวิ้งว้างเหมือน
หนึ่งจะกระตุ้นจิตใจของผู้ที่ร่วมงานให้ลอยสูงขึ้นไปบนสวรรค์ไม่มีผิด นี่เป็นการนำมาซึ่งความ
รื่นเริงและความสุขแก่ผู้ที่ได้ทำบุญเพราะว่าโชคร้ายต่าง ๆของพวกเขาได้ถูกลอยไปพร้อม ๆ
กับโคมหมดแล้ว
new year -วันปีใหม่
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : new year -วันปีใหม่
ตอนที่ : 15
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 22:06:12
เข้าชม : 5336
เนื้อเรื่อง
Thailand is well-known for her festivals which take place all the
year round. Most of these festivals are influenced by Buddhist and
Brahminical religions, however, with the passage of time a number of
them have been adopted in deference to the international practice.
Actually, the official New Year’s Day of Thailand has undergone
several changes. Once it used to fall at the end of November. Later,
during the reign of King Rama V(1868-1910) it was moved to a date
round about April and then New Year’s Day was changed to April the
first. The universal practice of celebrating the new year on January
1 was adopted in 1941 in deference to the western calendar and this
is one of a number of changes aimed at modernising the country.
Though January 1 is regarded as official New Year, the majority of
Thais still regard the middle of April (Songkran) as their new
year’s day, and on this auspicious occasion a week-long celebration
is held throughout the kingdom. Most of activities on Songkran Day
involve water throwing, building sand pagodas and pouring lustral
water on the aged as a means of blessing. To be frank, a celebration
on January 1 is not so popular as that of Songkran. Normally, before
the upcoming January 1, people will exchange greeting cards and
gifts. Since on this auspicious occasion, a few grand celebrations
are held in the kingdom, people take this opportunity to travel
upcountry to visit their relatives or spend holidays at a tourist
attraction site, while those stay at home will prepare food and
other necessary items to make merit on the early morning of January
1 and then take part in various charitable activities held in
various places.
At the same time, several companies take this opportunity to give a
bonus and announce promotions to their employees who later cash
money to buy gifts for relatives and friends before heading to their
hometown for a long vacation.
Obviously, in Thailand people celebrate New Year three times a year,
namely ; the Thai traditional New Year or Songkran, January 1 and
the Chinese New Year. Out of these, Songkran is the most joyous
occasion which draw people from all walks of life to take part in a
week-long celebration. Meanwhile, the Chinese New Year is important
especially for Thai organisations will close their business for
several days so that the employers and their employees will be able
to celebrate the auspicious occasion with their relatives at home or
spend a long holiday in a place they like.
วันขึ้นปีใหม่
ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีการจัดฉลองเทศกาลตลอดทั้งปี เทศกาลเหล่านี้ได้รับ
อิทธิพลมาจากทั้งศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ เมื่อกาลเวลาผ่านไป เทศกาลต่าง ๆ เหล่านี้
ก็ถูกดัดแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับสากลนิยมบ้าง
ที่จริงแล้ว วันขึ้นปีใหม่ของไทยอย่างเป็นทางการนี้ได้รับการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้งหลาย
คราว ครั้งหนึ่งเคยถือเอาปลายเดือนพฤศจิกายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในรัชกาลของพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411 ถึง 2453) วันขึ้นปีใหม่กำหนดให้อยู่ในช่วง
เดือนเมษายนจนกระทั่งเปลี่ยนมาถือเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ การถือเอาวันที่ 1
มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามหลักสากลนิยมนั้นเพิ่งจะได้นำมาประยุกต์ใช้ในปี พ.ศ. 2484
เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิทินตะวันตกและนี่ก็เป็นส่วนหนึ่งในหลาย ๆ สิ่งที่ได้รับการเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้ประเทศก้าวไปสู่สมัยใหม่
ถึงแม้ว่า วันที่ 1 มกราคม จะถือปฏิบัติเป็นวันขึ้นปีใหม่อย่างเป็นทางการแล้วก็ตาม แต่คนไทย
ส่วนใหญ่ก็ยังคงถือเอากลางเดือนเมษายน (วันสงกรานต์) เป็นวันขึ้นปีใหม่และในโอกาสอัน
เป็นมงคลนี้นั้นการเฉลิมฉลองเป็นเวลานานนับสัปดาห์ก็จะจัดให้มีขึ้นทั่วราชอาณาจักร ส่วนใหญ่
กิจกรรมในวันสงกรานต์นี้จะเกี่ยวกับการสาดน้ำใส่กัน สร้างเจดีย์ทราย และรดน้ำหอมให้กับผู้
สูงอายุเพื่อความเป็นสิริมงคล ความจริงแล้ว การฉลองวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 มกราคมนั้น จะ
ได้รับความนิยมน้อยกว่าวันสงกรานต์มาก โดยปกติก่อนวันที่ 1 มกราคม ผู้คนก็จะแลกบัตรอวย
พรและของขวัญแก่กันและกัน เนื่องจากในวันนี้การเฉลิมฉลองอย่างมโหฬารจะจัดให้มีขึ้นเพียง
ไม่กี่แห่ง ผู้คนก็เลยถือโอกาสนี้ไปเที่ยวต่างจังหวัดเพื่อเยี่ยมญาติ ๆ หรือไม่ก็ไปใช้วันหยุดใน
สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในขณะที่ผู้ที่อยู่บ้านก็จะเตรียมอาหารและเครื่องไทยธรรมอื่นๆ เพื่อทำ
บุญตักบาตรในเช้าตรู่ของวันที่ 1 มกราคม และยังเข้าร่วมกิจกรรมการกุศลต่าง ๆ ที่จัดให้มีขึ้น
ตามสถานที่ต่าง ๆ
ในขณะเดียวกัน หลายบริษัทก็จะถือเอาโอกาสนี้แจกเงินโบนัสและประกาศเลื่อนขั้นพนักงานผู้ซึ่ง
หลังจากนี้ก็จะรีบถอนเงินซื้อของขวัญเพื่อแจกญาติ ๆ และเพื่อนฝูงก่อนที่จะบ่ายหน้าไปยังบ้าน
เกิดเพื่อใช้วันหยุดอันยาวนาน
จะเห็นได้ชัดว่า คนไทยจะฉลองวันขึ้นปีใหม่ 3 ครั้งต่อปีเลยก็ว่าได้ กล่าวคือ วันขึ้นปีใหม่ตาม
ประเพณีหรือวันสงกรานต์ วันที่ 1 มกราคม และวันตรุษจีน ใน 3 วันนี้ วันสงกรานต์เป็น
โอกาสที่สนุกสนานที่สุด เพราะว่าประชาชนจากทุกสาขาอาชีพต่างพร้อมใจกันเข้าร่วมฉลองเป็น
เวลานับสัปดาห์ ในขณะที่วันตรุษจีนก็มีความสำคัญเท่า ๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคนไทย
เชื้อสายจีน ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่วันหยุดของทางราชการ บริษัทเอกชนส่วนใหญ่ก็จะหยุดดำเนิน
ธุรกิจเป็นเวลาหลายวัน เพื่อให้ทั้งนายจ้างและพนักงานได้เข้าร่วมฉลองโอกาสอันเป็นมงคลนี้
ร่วมกับญาติ ๆ ที่บ้านหรือไม่ก็ใช้วันหยุดตามสถานที่ที่ตนพอใจ
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : new year -วันปีใหม่
ตอนที่ : 15
อัพเดตเมื่อ : 26/12/2551 22:06:12
เข้าชม : 5336
เนื้อเรื่อง
Thailand is well-known for her festivals which take place all the
year round. Most of these festivals are influenced by Buddhist and
Brahminical religions, however, with the passage of time a number of
them have been adopted in deference to the international practice.
Actually, the official New Year’s Day of Thailand has undergone
several changes. Once it used to fall at the end of November. Later,
during the reign of King Rama V(1868-1910) it was moved to a date
round about April and then New Year’s Day was changed to April the
first. The universal practice of celebrating the new year on January
1 was adopted in 1941 in deference to the western calendar and this
is one of a number of changes aimed at modernising the country.
Though January 1 is regarded as official New Year, the majority of
Thais still regard the middle of April (Songkran) as their new
year’s day, and on this auspicious occasion a week-long celebration
is held throughout the kingdom. Most of activities on Songkran Day
involve water throwing, building sand pagodas and pouring lustral
water on the aged as a means of blessing. To be frank, a celebration
on January 1 is not so popular as that of Songkran. Normally, before
the upcoming January 1, people will exchange greeting cards and
gifts. Since on this auspicious occasion, a few grand celebrations
are held in the kingdom, people take this opportunity to travel
upcountry to visit their relatives or spend holidays at a tourist
attraction site, while those stay at home will prepare food and
other necessary items to make merit on the early morning of January
1 and then take part in various charitable activities held in
various places.
At the same time, several companies take this opportunity to give a
bonus and announce promotions to their employees who later cash
money to buy gifts for relatives and friends before heading to their
hometown for a long vacation.
Obviously, in Thailand people celebrate New Year three times a year,
namely ; the Thai traditional New Year or Songkran, January 1 and
the Chinese New Year. Out of these, Songkran is the most joyous
occasion which draw people from all walks of life to take part in a
week-long celebration. Meanwhile, the Chinese New Year is important
especially for Thai organisations will close their business for
several days so that the employers and their employees will be able
to celebrate the auspicious occasion with their relatives at home or
spend a long holiday in a place they like.
วันขึ้นปีใหม่
ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่มีการจัดฉลองเทศกาลตลอดทั้งปี เทศกาลเหล่านี้ได้รับ
อิทธิพลมาจากทั้งศาสนาพุทธและศาสนาพราหมณ์ เมื่อกาลเวลาผ่านไป เทศกาลต่าง ๆ เหล่านี้
ก็ถูกดัดแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับสากลนิยมบ้าง
ที่จริงแล้ว วันขึ้นปีใหม่ของไทยอย่างเป็นทางการนี้ได้รับการเปลี่ยนแปลงมาหลายครั้งหลาย
คราว ครั้งหนึ่งเคยถือเอาปลายเดือนพฤศจิกายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาในรัชกาลของพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2411 ถึง 2453) วันขึ้นปีใหม่กำหนดให้อยู่ในช่วง
เดือนเมษายนจนกระทั่งเปลี่ยนมาถือเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ การถือเอาวันที่ 1
มกราคม เป็นวันขึ้นปีใหม่ตามหลักสากลนิยมนั้นเพิ่งจะได้นำมาประยุกต์ใช้ในปี พ.ศ. 2484
เพื่อให้สอดคล้องกับปฏิทินตะวันตกและนี่ก็เป็นส่วนหนึ่งในหลาย ๆ สิ่งที่ได้รับการเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้ประเทศก้าวไปสู่สมัยใหม่
ถึงแม้ว่า วันที่ 1 มกราคม จะถือปฏิบัติเป็นวันขึ้นปีใหม่อย่างเป็นทางการแล้วก็ตาม แต่คนไทย
ส่วนใหญ่ก็ยังคงถือเอากลางเดือนเมษายน (วันสงกรานต์) เป็นวันขึ้นปีใหม่และในโอกาสอัน
เป็นมงคลนี้นั้นการเฉลิมฉลองเป็นเวลานานนับสัปดาห์ก็จะจัดให้มีขึ้นทั่วราชอาณาจักร ส่วนใหญ่
กิจกรรมในวันสงกรานต์นี้จะเกี่ยวกับการสาดน้ำใส่กัน สร้างเจดีย์ทราย และรดน้ำหอมให้กับผู้
สูงอายุเพื่อความเป็นสิริมงคล ความจริงแล้ว การฉลองวันขึ้นปีใหม่ในวันที่ 1 มกราคมนั้น จะ
ได้รับความนิยมน้อยกว่าวันสงกรานต์มาก โดยปกติก่อนวันที่ 1 มกราคม ผู้คนก็จะแลกบัตรอวย
พรและของขวัญแก่กันและกัน เนื่องจากในวันนี้การเฉลิมฉลองอย่างมโหฬารจะจัดให้มีขึ้นเพียง
ไม่กี่แห่ง ผู้คนก็เลยถือโอกาสนี้ไปเที่ยวต่างจังหวัดเพื่อเยี่ยมญาติ ๆ หรือไม่ก็ไปใช้วันหยุดใน
สถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในขณะที่ผู้ที่อยู่บ้านก็จะเตรียมอาหารและเครื่องไทยธรรมอื่นๆ เพื่อทำ
บุญตักบาตรในเช้าตรู่ของวันที่ 1 มกราคม และยังเข้าร่วมกิจกรรมการกุศลต่าง ๆ ที่จัดให้มีขึ้น
ตามสถานที่ต่าง ๆ
ในขณะเดียวกัน หลายบริษัทก็จะถือเอาโอกาสนี้แจกเงินโบนัสและประกาศเลื่อนขั้นพนักงานผู้ซึ่ง
หลังจากนี้ก็จะรีบถอนเงินซื้อของขวัญเพื่อแจกญาติ ๆ และเพื่อนฝูงก่อนที่จะบ่ายหน้าไปยังบ้าน
เกิดเพื่อใช้วันหยุดอันยาวนาน
จะเห็นได้ชัดว่า คนไทยจะฉลองวันขึ้นปีใหม่ 3 ครั้งต่อปีเลยก็ว่าได้ กล่าวคือ วันขึ้นปีใหม่ตาม
ประเพณีหรือวันสงกรานต์ วันที่ 1 มกราคม และวันตรุษจีน ใน 3 วันนี้ วันสงกรานต์เป็น
โอกาสที่สนุกสนานที่สุด เพราะว่าประชาชนจากทุกสาขาอาชีพต่างพร้อมใจกันเข้าร่วมฉลองเป็น
เวลานับสัปดาห์ ในขณะที่วันตรุษจีนก็มีความสำคัญเท่า ๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคนไทย
เชื้อสายจีน ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่วันหยุดของทางราชการ บริษัทเอกชนส่วนใหญ่ก็จะหยุดดำเนิน
ธุรกิจเป็นเวลาหลายวัน เพื่อให้ทั้งนายจ้างและพนักงานได้เข้าร่วมฉลองโอกาสอันเป็นมงคลนี้
ร่วมกับญาติ ๆ ที่บ้านหรือไม่ก็ใช้วันหยุดตามสถานที่ที่ตนพอใจ
The Moon Festival...เทศกาลไหว้พระจันทร์
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Moon Festival...เทศกาลไหว้พระจันทร์
ตอนที่ : 11
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:37:50
เข้าชม : 3142
เนื้อเรื่อง
The Moon Festival
The Chinese Moon Festival usually takes place on the 15th day of the
eight lunar month (in September or October). The Mid-Autumn Festival
is held in honour of the Moon Goddess which is believed to have been
born on this date.
However, the historical fact about the origin of the festival is
still unclear. Some say that the great Han dynasty emperor Wu Di
initiated a three-day celebration to worship the autumn moon. Many,
however, argue that the festival, in fact, originated around 1368
during the Mongol’s domination of China. The cake was made to hide a
secret message of the rebellion to tell people across the country of
a large gathering during the eight lunar month. The Mongol army was
not aware of the rebellious purpose, they thought that the cakes
were an old tradition. They, thus were defeated that night. After a
new dynasty named Ming was set up, the practice has been carried on
till these days.
Besides these historical facts, there are also many myths and
legends, one of these is that of Siang-Ngor (Some says Chang-E)
Siang-Ngor was very beautiful. She was the wife of a high-ranking
Chinese officer. After taking a magic medicine, she flew up to the
moon and lived there. She later became immortal after consuming the
immortal water given to her by a certain Goddess in heaven.
Siang-Ngor the Moon Goddess was said to be very kind. When the
cultivation season arrived, she would pour immortal water to the
earth and this brought prosperity to all farmers. To express their
gratitude to the Moon Goddess, farmers thus made Khanom go (or
sweetmeat) from rice flour as an offering to her on the full moon
night of the eight lunar month.
Since chinese festivals usually involve special delicacies to be
given as offerings, on this occasion, Moon cake is specially made as
an offering. This Chinese delicacy is, however, hardly a cake in the
western sense of the world. In Thailand, the art of Chinese style
cake was brought to the country by Chinese immigrants almost 100
years ago.
The original Chinese Moon cake included such ingredients as red
beans, five types of Chinese nuts and ground lotus seeds and so on.
Thailand has its own variations of including durian, chestnut, and
persimmon. Additional ingredients may include lotus seeds, salted
egg yolk and watermelon seeds.
It is to be noted that the ceremony is usually conducted by women as
people believe that the moon is uniquely associated with female
diety. Thus, powder and cosmetics are also offered with the hope of
bringing beauty and beautiful skin to the entire female family members.
Whatever the scientific progress may be, it will never make any
impact on traditional beliefs and festivals which have been passed
on from generation to generation.
เทศกาลไหว้พระจันทร์
เทศกาลไหว้พระจันทร์ ชาวจีนโดยปกติจะมีขึ้นในวันที่ 15 (วันเพ็ญ) เดือน 8 (เดือนกันยายน
หรือตุลาคม) เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วงนี้จัดให้มีขึ้นเพื่อระลึกถึงเทพธิดาแห่งพระจันทร์ ซึ่งเชื่อ
กันว่าถือกำเนิดขึ้นในวันนี้
อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ยังคงไม่เป็นที่
ปรากฏแน่ชัด บ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วูแห่งราชวงศ์ฮั่นเป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไหว้พระจันทร์
เป็นเวลา 3 วันในฤดูใบไม้ร่วงนี้ แต่หลายคนก็แย้งว่า ความจริงแล้วเทศกาลนี้เกิดขึ้นในราวปี
พ.ศ. 1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีน ขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฏที่
มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่ในเดือน 8 นี้ ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึง
จุดประสงค์ของพวกกบฏ เพราะคิดว่าขนมเค้กเหล่านั้นเป็นการทำตามประเพณีดั้งเดิมของชาว
จีน ด้วยเหตุนี้ในคืนนั้นเองทหารมองโกลจึงถูกปราบเสียราบคาบหลังจากที่ราชวงศ์ใหม่คือราช
วงศ์หมิงได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว ประเพณีนี้ก็ถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันนี้
นอกจากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เหล่านี้แล้ว ก็ยังมีนิทานและตำนานอีกหลายเรื่อง หนึ่งใน
จำนวนนี้ก็คือเรื่องเกี่ยวกับนางเสี้ยงหงอ (บ้างก็เรียกฉางอี้) ซึ่งเป็นหญิงที่มีความงดงามมาก
นางเป็นภรรยาของขุนนางจีนท่านหนึ่ง หลังจากที่นางทานยาวิเศษเข้าไป นางก็เหาะขึ้นไปอยู่
บนพระจันทร์ภายหลังนางกลายเป็นอมตะหลังจากที่ได้ดื่มน้ำอมฤตของเทพธิดาองค์หนึ่งบนสวรรค์
กล่าวกันว่านางจันทรเทพธิดาเสี้ยงหงอมีน้ำใจเมตตาเอื้ออารีมาก พอถึงฤดูกาลเพาะปลูกนางก็
จะประพรมน้ำอมฤตลงมาบนพื้นโลกและนี่ก็นำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองแก่ชาวไร่ชาวนาทั้งมวล
เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อนางจันทรเทพธิดาชาวนาจึงทำขนมโก๋จากแป้งข้าวเจ้าเพื่อ
สักการะนางในคืนวันเพ็ญเดือน 8
เนื่องจากว่าโดยปกติประเพณีต่างๆ ของชาวจีนจะเกี่ยวข้องกับการทำอาหารพิเศษ ๆ เพื่อเป็น
เครื่องสักการะในวันนั้น แต่ว่าอาหารจีนที่ทำขึ้นในวันไหว้พระจันทร์นี้ไม่ใช่ขนมเค้กอย่างเช่น
ของชาวตะวันตกตามที่เข้าใจกัน ในประเทศไทย ศิลปะการทำขนมเค้กแบบชาวจีนนี้ถูกนำเข้า
มาเผยแพร่โดยชาวจีนอพยพมากว่า 100 ปีมาแล้ว
ขนมไหว้พระจันทร์ของจีนแต่เดิมนั้นมีส่วนประกอบ เช่น ถั่วแดง ลูกนัทจีน 5 ชนิด และ เมล็ด
บัว เป็นต้น ในประเทศไทยก็มีส่วนประกอบที่แตกต่างออกไป เช่น การรวมเอาทุเรียน ลูก
เกาลัด และลูกพลับเข้าไว้ด้วย เครื่องปรุงที่เพิ่มเข้ามาก็อาจจะรวมเอาเมล็ดบัว ไข่แดงเค็ม
และเมล็ดแตงโมด้วย
เป็นที่น่าสังเกตว่า โดยปกติแล้วพิธีนี้จะให้สตรีเป็นผู้ทำเพราะว่าคนเชื่อกันว่าพระจันทร์มีส่วน
เกี่ยวข้องอย่างแนบแน่นกับเทพเจ้าสตรีเรื่อยมา ดังนั้น จึงมีการบูชาด้วยแป้งและเครื่องสำอาง
ด้วยเพราะหวังว่าการทำเช่นนี้จะนำมาซึ่งความสวยงามและผิวงามแก่สมาชิกในครอบครัวที่เป็น
หญิงทั้งหมด
ไม่ว่าความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์จะก้าวหน้าไปไกลขนาดไหนก็ตาม สิ่งเหล่านี้ไม่มีผล
กระทบต่อความเชื่อตามประเพณี และพิธีที่สืบทอดกันมาชั่วลูกชั่วหลานของชาวจีนแต่ประการใด
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Moon Festival...เทศกาลไหว้พระจันทร์
ตอนที่ : 11
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:37:50
เข้าชม : 3142
เนื้อเรื่อง
The Moon Festival
The Chinese Moon Festival usually takes place on the 15th day of the
eight lunar month (in September or October). The Mid-Autumn Festival
is held in honour of the Moon Goddess which is believed to have been
born on this date.
However, the historical fact about the origin of the festival is
still unclear. Some say that the great Han dynasty emperor Wu Di
initiated a three-day celebration to worship the autumn moon. Many,
however, argue that the festival, in fact, originated around 1368
during the Mongol’s domination of China. The cake was made to hide a
secret message of the rebellion to tell people across the country of
a large gathering during the eight lunar month. The Mongol army was
not aware of the rebellious purpose, they thought that the cakes
were an old tradition. They, thus were defeated that night. After a
new dynasty named Ming was set up, the practice has been carried on
till these days.
Besides these historical facts, there are also many myths and
legends, one of these is that of Siang-Ngor (Some says Chang-E)
Siang-Ngor was very beautiful. She was the wife of a high-ranking
Chinese officer. After taking a magic medicine, she flew up to the
moon and lived there. She later became immortal after consuming the
immortal water given to her by a certain Goddess in heaven.
Siang-Ngor the Moon Goddess was said to be very kind. When the
cultivation season arrived, she would pour immortal water to the
earth and this brought prosperity to all farmers. To express their
gratitude to the Moon Goddess, farmers thus made Khanom go (or
sweetmeat) from rice flour as an offering to her on the full moon
night of the eight lunar month.
Since chinese festivals usually involve special delicacies to be
given as offerings, on this occasion, Moon cake is specially made as
an offering. This Chinese delicacy is, however, hardly a cake in the
western sense of the world. In Thailand, the art of Chinese style
cake was brought to the country by Chinese immigrants almost 100
years ago.
The original Chinese Moon cake included such ingredients as red
beans, five types of Chinese nuts and ground lotus seeds and so on.
Thailand has its own variations of including durian, chestnut, and
persimmon. Additional ingredients may include lotus seeds, salted
egg yolk and watermelon seeds.
It is to be noted that the ceremony is usually conducted by women as
people believe that the moon is uniquely associated with female
diety. Thus, powder and cosmetics are also offered with the hope of
bringing beauty and beautiful skin to the entire female family members.
Whatever the scientific progress may be, it will never make any
impact on traditional beliefs and festivals which have been passed
on from generation to generation.
เทศกาลไหว้พระจันทร์
เทศกาลไหว้พระจันทร์ ชาวจีนโดยปกติจะมีขึ้นในวันที่ 15 (วันเพ็ญ) เดือน 8 (เดือนกันยายน
หรือตุลาคม) เทศกาลกลางฤดูใบไม้ร่วงนี้จัดให้มีขึ้นเพื่อระลึกถึงเทพธิดาแห่งพระจันทร์ ซึ่งเชื่อ
กันว่าถือกำเนิดขึ้นในวันนี้
อย่างไรก็ตาม ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับต้นกำเนิดของเทศกาลนี้ยังคงไม่เป็นที่
ปรากฏแน่ชัด บ้างก็ว่าจักรพรรดิ์วูแห่งราชวงศ์ฮั่นเป็นผู้ริเริ่มการฉลองเพื่อกราบไหว้พระจันทร์
เป็นเวลา 3 วันในฤดูใบไม้ร่วงนี้ แต่หลายคนก็แย้งว่า ความจริงแล้วเทศกาลนี้เกิดขึ้นในราวปี
พ.ศ. 1911 ในช่วงมองโกลยึดครองจีน ขนมเค้กที่ทำขึ้นก็เพื่อซุกซ่อนข้อความลับของพวกกบฏที่
มีถึงประชาชนทั่วทั้งประเทศให้มาชุมนุมกันครั้งใหญ่ในเดือน 8 นี้ ทหารมองโกลไม่ได้ระแวงถึง
จุดประสงค์ของพวกกบฏ เพราะคิดว่าขนมเค้กเหล่านั้นเป็นการทำตามประเพณีดั้งเดิมของชาว
จีน ด้วยเหตุนี้ในคืนนั้นเองทหารมองโกลจึงถูกปราบเสียราบคาบหลังจากที่ราชวงศ์ใหม่คือราช
วงศ์หมิงได้ถูกจัดตั้งขึ้นแล้ว ประเพณีนี้ก็ถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันนี้
นอกจากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เหล่านี้แล้ว ก็ยังมีนิทานและตำนานอีกหลายเรื่อง หนึ่งใน
จำนวนนี้ก็คือเรื่องเกี่ยวกับนางเสี้ยงหงอ (บ้างก็เรียกฉางอี้) ซึ่งเป็นหญิงที่มีความงดงามมาก
นางเป็นภรรยาของขุนนางจีนท่านหนึ่ง หลังจากที่นางทานยาวิเศษเข้าไป นางก็เหาะขึ้นไปอยู่
บนพระจันทร์ภายหลังนางกลายเป็นอมตะหลังจากที่ได้ดื่มน้ำอมฤตของเทพธิดาองค์หนึ่งบนสวรรค์
กล่าวกันว่านางจันทรเทพธิดาเสี้ยงหงอมีน้ำใจเมตตาเอื้ออารีมาก พอถึงฤดูกาลเพาะปลูกนางก็
จะประพรมน้ำอมฤตลงมาบนพื้นโลกและนี่ก็นำมาซึ่งความเจริญรุ่งเรืองแก่ชาวไร่ชาวนาทั้งมวล
เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อนางจันทรเทพธิดาชาวนาจึงทำขนมโก๋จากแป้งข้าวเจ้าเพื่อ
สักการะนางในคืนวันเพ็ญเดือน 8
เนื่องจากว่าโดยปกติประเพณีต่างๆ ของชาวจีนจะเกี่ยวข้องกับการทำอาหารพิเศษ ๆ เพื่อเป็น
เครื่องสักการะในวันนั้น แต่ว่าอาหารจีนที่ทำขึ้นในวันไหว้พระจันทร์นี้ไม่ใช่ขนมเค้กอย่างเช่น
ของชาวตะวันตกตามที่เข้าใจกัน ในประเทศไทย ศิลปะการทำขนมเค้กแบบชาวจีนนี้ถูกนำเข้า
มาเผยแพร่โดยชาวจีนอพยพมากว่า 100 ปีมาแล้ว
ขนมไหว้พระจันทร์ของจีนแต่เดิมนั้นมีส่วนประกอบ เช่น ถั่วแดง ลูกนัทจีน 5 ชนิด และ เมล็ด
บัว เป็นต้น ในประเทศไทยก็มีส่วนประกอบที่แตกต่างออกไป เช่น การรวมเอาทุเรียน ลูก
เกาลัด และลูกพลับเข้าไว้ด้วย เครื่องปรุงที่เพิ่มเข้ามาก็อาจจะรวมเอาเมล็ดบัว ไข่แดงเค็ม
และเมล็ดแตงโมด้วย
เป็นที่น่าสังเกตว่า โดยปกติแล้วพิธีนี้จะให้สตรีเป็นผู้ทำเพราะว่าคนเชื่อกันว่าพระจันทร์มีส่วน
เกี่ยวข้องอย่างแนบแน่นกับเทพเจ้าสตรีเรื่อยมา ดังนั้น จึงมีการบูชาด้วยแป้งและเครื่องสำอาง
ด้วยเพราะหวังว่าการทำเช่นนี้จะนำมาซึ่งความสวยงามและผิวงามแก่สมาชิกในครอบครัวที่เป็น
หญิงทั้งหมด
ไม่ว่าความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์จะก้าวหน้าไปไกลขนาดไหนก็ตาม สิ่งเหล่านี้ไม่มีผล
กระทบต่อความเชื่อตามประเพณี และพิธีที่สืบทอดกันมาชั่วลูกชั่วหลานของชาวจีนแต่ประการใด
พิธีทอดกฐิน...Kathin Ceremony
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : พิธีทอดกฐิน...Kathin Ceremony
ตอนที่ : 9
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:30:20
เข้าชม : 2110
เนื้อเรื่อง
With the end of the 3-month Rains Retreat (about July to
September), monks throughout the country are free to move from place to
place and are eligible to receive new robes in an annual presentation
ceremony called “Thot Kathin”. Besides new robes, Buddhist literature,
kitchen equipment, financial contributions and building materials e.g.
nails, hand-saws and hammers etc. are also presented to monks on this
occasion.
In fact, the word *“Thot” *means “making an offering to the
monk” and the word *“Kathin” *literary means the “embroidery frame” used
in sewing the yellow robes which, in those days, were collected from
rags on dead bodies in the jungle since clothes were not available in
plenty as nowadays. Buddhist people regard the “Thot Kathin” ceremony as
the most significant form of merit-making nest to the ordination of
their close kin. Thus, once in their lifetime everybody is looking
forward to having an opportunity to be the sponsor of a Kathin ceremony
as it involves a lot of time, manpower and expense. Above all, an
advance booking must be made with the temple, otherwise, the chance to
be a sole sponsor of the Kathin may not be possible especially with the
reputable temples. Nontheless, those who fail to be the sole sponsor of
Kathin can also take part in the ceremony which, in this type, is known
as “Kathin Samakki” or the “United Kathin”.
Meanwhile, for the royal temples such as the Temple of Dawn or
the Reclining Buddha Temple etc. The King or his representatives will be
the sponsor of the ceremony, and usually His Majesty the King himself
will present the royal Kathin robes to the Buddhist monks of Wat Po (The
Reclining Buddha Temple) and other leading temples in Bangkok especially
the famed riverside Wat Arun (The Temple of Dawn). On this special
occasion, the king will take a journey on board the Royal Barge
accompanied by a colourful fleet of escort barges along the Chao Phraya
River from the Wasukri Royal landing stage to Wat Arun. The grand
waterbone procession of the royal barges is the most beautiful event and
visitors to Thailand should not miss a chance to take a glimpse which
will remind them of Thailand forever.
a Kathin group will travel for several hundred kilometers by
bus, train, boat or even by plane to present the Kathin robes and other
necessities to monks in remote temples or in other countries where
Buddhist temples are established. People thus hold this merit-making
festival not only for earning merit for themselves but also for enjoying
a fun-filled holiday free from the daily hectic life full of stress and
strain in the city. During the Thot Kathin period, it is very common to
see Kathin processions traveling to and fro throughout the country. In
fact, anybody can take part in the event through the simple method of
enclosing a small amount of money in the white envelope given by friends
or relatives.
It is to be noted that Kathin and *Pha-pa *(or the Forest Robe or a
robe left for the monks to take as a discarded cloth) are totally
different from one another, in other words, while the Kathin
ceremony can be performed only once a year and only after the end of
the Rains Retreat, the Pha-pa ceremony can be performed all the year
round and at any time suitable. In addition, while each temple is
allowed to accept the Kathin robes only one time in a year, the
Pha-pa robe can be presented to monks as often as possible.
Evidently, the Pha-pa ceremony is less significant than the Kathin
ceremony which requires greater preparation. Thus, the Kathin is
treated as one of the most significant religious events and can take
part from the king to the poor people in rural areas.
พิธีทอดกฐิน
เมื่อสิ้นฤดูกาลเข้าพรรษา (ประมาณเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน) พระภิกษุทั่วประเทศมี
อิสระที่จะเดินทางไปยังที่หนึ่งที่ใดก็ได้ และได้รับอนุญาตให้ได้รับจีวรใหม่ในพิธีทอดกฐินประจำปี
นอกจากผ้าจีวรใหม่ก็มีเครื่องอัฎฐบริขาร อุปกรณ์เครื่องครัว เงินบริจาคทานและอุปกรณ์ก่อ
สร้าง เช่น ตะปู เลื่อยมือ และค้อน เป็นต้น ซึ่งก็ถวายไปพร้อมกันในพิธีนี้ด้วย
ที่จริงแล้ว คำว่า “ทอด” หมายถึง “การถวายทานแก่พระสงฆ์” และคำว่า “กฐิน” แปลตาม
ตัวหมายถึง “ไม้สะดึง” (คือไม้แบบตัดจีวร) ใช้ในการเย็บผ้าจีวรเพราะในสมัยก่อนต้องเก็บ
เอามาจากเศษผ้า จากซากศพในป่า เพราะว่าผ้าจีวรไม่มีจำหน่ายมากมายอย่างเช่นทุกวันนี้
ชาวพุทธถือว่า “พิธีทอดกฐิน” เป็นการทำบุญที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งรองจากพิธีอุปสมบทของญาติ
สนท ดังนั้นในช่วงชีวิตหนึ่งทุกคนต่างก็หาโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพทอดกฐิน เพราะว่าพิธีนี้ต้อง
ใช้เวลามาก ทั้งกำลังคนและค่าใช้จ่ายสูง เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ จะต้องมีการจองล่วงหน้า มิ
ฉะนั้นโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพกฐินแต่เพียงผู้เดียวก็คงจะเป็นไปได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
วัดที่มีชื่อเสียง แม้กระนั้นผู้ที่พลาดโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพแต่เพียงผู้เดียวก็ยังสามารถเข้า
ร่วมในการทอดกฐินได้ ซึ่งกฐินประเภทนี้เรียกว่า “กฐินสามัคคี”
ในขณะเดียวกัน สำหรับ พระอารามหลวง* เช่น วัดอรุณฯ หรือวัดโพธิ์ฯ เป็นต้น พระมหา
กษัตริย์ หรือผู้แทนพระองค์จะเป็นเจ้าภาพกฐินและโดยปกติพระมหากษัตริย์ก็จะทรงถวายผ้ากฐิน
หลวงต่อพระสงฆ์โดยพระองค์เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัดโพธิ์ และวัดหลวงที่สำคัญๆ อื่น ๆ
เช่น วัดอรุณ ซึ่งในโอกาสนี้พระมหากษัตริย์จะทรงเสด็จโดยเรือพระที่นั่ง พร้อมทั้งมีขบวนเรือ
ติดตามที่สวยงามล่องไปตามลำน้ำเจ้าพระยาจากท่าวาสุกรีไปยังท่าน้ำวัดอรุณฯ ขบวนเรือพระที่
นั่งนี้เป็นภาพที่สวยงามมากซึ่งนักท่องเที่ยวไม่ควรจะพลาดโอกาสชมเหตุการณ์นี้อันจะติดตาตรึง
ใจในประเทศไทยไปตลอดกาลนาน
บางครั้งขบวนกฐินก็เดินทางไปทอดเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร โดยทางรถโดยสาร
รถไฟ ทางเรือหรือแม้แต่ทางเครื่องบินเพื่อถวายผ้ากฐินและของไทยธรรมอื่นๆ ต่อพระสงฆ์ใน
วัดตามชนบท หรือแม้แต่ในต่างประเทศที่มีวัดพุทธศาสนาตั้งอยู่ ดังนั้นพุทธศาสนิกชนจึงถือเอา
โอกาสอันเป็นกุศลนี้ไม่เพียงแต่เพื่อประกอบบุญกุศลให้กับตนเองเท่านั้น แต่ยังได้สนุกสนานในวัน
หยุด เป็นอิสระจากชีวิตอันวุ่นวายเต็มไปด้วยความตึงเครียดในเมืองหลวงไปชั่วขณะหนึ่งด้วย
ในช่วงเทศกาลทอดกฐินนี้ จะดูเป็นเรื่องธรรมดาที่จะได้เห็นขบวนกฐินเดินทางไปๆ มาๆ ทั่วทั้ง
ประเทศ ที่จริงแล้วทุกคนสามารถเข้าร่วมในพิธีนี้ได้โดยวิธีการง่ายๆ เช่น การใส่เงินจำนวน
เล็กน้อยลงในซองสีขาวที่แจกให้โดยเพื่อน ๆ หรือญาติๆ ก็เรียกได้ว่ามีส่วนร่วมแล้ว
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : พิธีทอดกฐิน...Kathin Ceremony
ตอนที่ : 9
อัพเดตเมื่อ : 17/12/2551 21:30:20
เข้าชม : 2110
เนื้อเรื่อง
With the end of the 3-month Rains Retreat (about July to
September), monks throughout the country are free to move from place to
place and are eligible to receive new robes in an annual presentation
ceremony called “Thot Kathin”. Besides new robes, Buddhist literature,
kitchen equipment, financial contributions and building materials e.g.
nails, hand-saws and hammers etc. are also presented to monks on this
occasion.
In fact, the word *“Thot” *means “making an offering to the
monk” and the word *“Kathin” *literary means the “embroidery frame” used
in sewing the yellow robes which, in those days, were collected from
rags on dead bodies in the jungle since clothes were not available in
plenty as nowadays. Buddhist people regard the “Thot Kathin” ceremony as
the most significant form of merit-making nest to the ordination of
their close kin. Thus, once in their lifetime everybody is looking
forward to having an opportunity to be the sponsor of a Kathin ceremony
as it involves a lot of time, manpower and expense. Above all, an
advance booking must be made with the temple, otherwise, the chance to
be a sole sponsor of the Kathin may not be possible especially with the
reputable temples. Nontheless, those who fail to be the sole sponsor of
Kathin can also take part in the ceremony which, in this type, is known
as “Kathin Samakki” or the “United Kathin”.
Meanwhile, for the royal temples such as the Temple of Dawn or
the Reclining Buddha Temple etc. The King or his representatives will be
the sponsor of the ceremony, and usually His Majesty the King himself
will present the royal Kathin robes to the Buddhist monks of Wat Po (The
Reclining Buddha Temple) and other leading temples in Bangkok especially
the famed riverside Wat Arun (The Temple of Dawn). On this special
occasion, the king will take a journey on board the Royal Barge
accompanied by a colourful fleet of escort barges along the Chao Phraya
River from the Wasukri Royal landing stage to Wat Arun. The grand
waterbone procession of the royal barges is the most beautiful event and
visitors to Thailand should not miss a chance to take a glimpse which
will remind them of Thailand forever.
a Kathin group will travel for several hundred kilometers by
bus, train, boat or even by plane to present the Kathin robes and other
necessities to monks in remote temples or in other countries where
Buddhist temples are established. People thus hold this merit-making
festival not only for earning merit for themselves but also for enjoying
a fun-filled holiday free from the daily hectic life full of stress and
strain in the city. During the Thot Kathin period, it is very common to
see Kathin processions traveling to and fro throughout the country. In
fact, anybody can take part in the event through the simple method of
enclosing a small amount of money in the white envelope given by friends
or relatives.
It is to be noted that Kathin and *Pha-pa *(or the Forest Robe or a
robe left for the monks to take as a discarded cloth) are totally
different from one another, in other words, while the Kathin
ceremony can be performed only once a year and only after the end of
the Rains Retreat, the Pha-pa ceremony can be performed all the year
round and at any time suitable. In addition, while each temple is
allowed to accept the Kathin robes only one time in a year, the
Pha-pa robe can be presented to monks as often as possible.
Evidently, the Pha-pa ceremony is less significant than the Kathin
ceremony which requires greater preparation. Thus, the Kathin is
treated as one of the most significant religious events and can take
part from the king to the poor people in rural areas.
พิธีทอดกฐิน
เมื่อสิ้นฤดูกาลเข้าพรรษา (ประมาณเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน) พระภิกษุทั่วประเทศมี
อิสระที่จะเดินทางไปยังที่หนึ่งที่ใดก็ได้ และได้รับอนุญาตให้ได้รับจีวรใหม่ในพิธีทอดกฐินประจำปี
นอกจากผ้าจีวรใหม่ก็มีเครื่องอัฎฐบริขาร อุปกรณ์เครื่องครัว เงินบริจาคทานและอุปกรณ์ก่อ
สร้าง เช่น ตะปู เลื่อยมือ และค้อน เป็นต้น ซึ่งก็ถวายไปพร้อมกันในพิธีนี้ด้วย
ที่จริงแล้ว คำว่า “ทอด” หมายถึง “การถวายทานแก่พระสงฆ์” และคำว่า “กฐิน” แปลตาม
ตัวหมายถึง “ไม้สะดึง” (คือไม้แบบตัดจีวร) ใช้ในการเย็บผ้าจีวรเพราะในสมัยก่อนต้องเก็บ
เอามาจากเศษผ้า จากซากศพในป่า เพราะว่าผ้าจีวรไม่มีจำหน่ายมากมายอย่างเช่นทุกวันนี้
ชาวพุทธถือว่า “พิธีทอดกฐิน” เป็นการทำบุญที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งรองจากพิธีอุปสมบทของญาติ
สนท ดังนั้นในช่วงชีวิตหนึ่งทุกคนต่างก็หาโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพทอดกฐิน เพราะว่าพิธีนี้ต้อง
ใช้เวลามาก ทั้งกำลังคนและค่าใช้จ่ายสูง เหนือสิ่งอื่นใดก็คือ จะต้องมีการจองล่วงหน้า มิ
ฉะนั้นโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพกฐินแต่เพียงผู้เดียวก็คงจะเป็นไปได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
วัดที่มีชื่อเสียง แม้กระนั้นผู้ที่พลาดโอกาสที่จะได้เป็นเจ้าภาพแต่เพียงผู้เดียวก็ยังสามารถเข้า
ร่วมในการทอดกฐินได้ ซึ่งกฐินประเภทนี้เรียกว่า “กฐินสามัคคี”
ในขณะเดียวกัน สำหรับ พระอารามหลวง* เช่น วัดอรุณฯ หรือวัดโพธิ์ฯ เป็นต้น พระมหา
กษัตริย์ หรือผู้แทนพระองค์จะเป็นเจ้าภาพกฐินและโดยปกติพระมหากษัตริย์ก็จะทรงถวายผ้ากฐิน
หลวงต่อพระสงฆ์โดยพระองค์เอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง วัดโพธิ์ และวัดหลวงที่สำคัญๆ อื่น ๆ
เช่น วัดอรุณ ซึ่งในโอกาสนี้พระมหากษัตริย์จะทรงเสด็จโดยเรือพระที่นั่ง พร้อมทั้งมีขบวนเรือ
ติดตามที่สวยงามล่องไปตามลำน้ำเจ้าพระยาจากท่าวาสุกรีไปยังท่าน้ำวัดอรุณฯ ขบวนเรือพระที่
นั่งนี้เป็นภาพที่สวยงามมากซึ่งนักท่องเที่ยวไม่ควรจะพลาดโอกาสชมเหตุการณ์นี้อันจะติดตาตรึง
ใจในประเทศไทยไปตลอดกาลนาน
บางครั้งขบวนกฐินก็เดินทางไปทอดเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร โดยทางรถโดยสาร
รถไฟ ทางเรือหรือแม้แต่ทางเครื่องบินเพื่อถวายผ้ากฐินและของไทยธรรมอื่นๆ ต่อพระสงฆ์ใน
วัดตามชนบท หรือแม้แต่ในต่างประเทศที่มีวัดพุทธศาสนาตั้งอยู่ ดังนั้นพุทธศาสนิกชนจึงถือเอา
โอกาสอันเป็นกุศลนี้ไม่เพียงแต่เพื่อประกอบบุญกุศลให้กับตนเองเท่านั้น แต่ยังได้สนุกสนานในวัน
หยุด เป็นอิสระจากชีวิตอันวุ่นวายเต็มไปด้วยความตึงเครียดในเมืองหลวงไปชั่วขณะหนึ่งด้วย
ในช่วงเทศกาลทอดกฐินนี้ จะดูเป็นเรื่องธรรมดาที่จะได้เห็นขบวนกฐินเดินทางไปๆ มาๆ ทั่วทั้ง
ประเทศ ที่จริงแล้วทุกคนสามารถเข้าร่วมในพิธีนี้ได้โดยวิธีการง่ายๆ เช่น การใส่เงินจำนวน
เล็กน้อยลงในซองสีขาวที่แจกให้โดยเพื่อน ๆ หรือญาติๆ ก็เรียกได้ว่ามีส่วนร่วมแล้ว
ประเพณีปอยส่างลอง The Poy Sang Long Festival
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : ประเพณีปอยส่างลอง The Poy Sang Long Festival
ตอนที่ : 7
อัพเดตเมื่อ : 18/9/2551 19:14:32
เข้าชม : 2379
เนื้อเรื่อง
The Poy Sang Long Festival
The Poy Sang Long is a three-day celebration of Buddhist novice
ordination which usually takes place in late March or early April of
every year in the Thailand’s most north-western province of Mae Hong
Sorn.
The festival is the custom and tradition of the Shans or Tai Yai an
ethnic Thai tribe who migrated from northern Burma and then
inhabited most of Mae Hong Sorn. The Tai Yais have a strong devotion
to Buddhism, and to follow their age-old tradition the young boys
between the age of 7 and 14 will be ordained as novices for a period
to learn the Buddhist doctrinces and to gain merit for their
parents. It is believed that the tradition is probably to follow in
the footsteps of Prince Rahula, the first Buddhist novice who was
the Buddha’s own son. The young prince gave up his worldly life to
follow his father’s spiritual teachings.
The festival is rich in colour and display making it a most exciting
event that draws residents of the entire province to take part.
Prior to the arrival of the three-day festival, the boys have their
heads shaved and are then bathed and anointed with special waters.
They are dressed up in jewelled finery and their faces are expertly
made up. These boys are known as the “Jewel Princes” or “Look Kaew”
in Thai.
In the early morning of the first day, the celebration begins with a
procession around the town. Accompanying the procession are flutes,
lutes, fiddles, drums and cymbals. In the procession, each boy is
accompanied by three attendants ; one to carry him, another to
shelter him from the sun with a tall gold umbrella, and the third to
guard the precious jewels. The Boys are led to visit relatives and
friends and then join the communion lunch. After the feast,
relatives and the elders tie white threads around the wrists of the
boys to protect them from evil spirits. Thus ends the first day of
the event.
On the second day, the same procession again takes place. This time,
the procession includes offerings for the Buddha, other necessities
for monks and a horse symbolising the vehicle of the spirit of the
city pillar. In the evening, after having dinner, there is the rite
of calling “spirit” or “Kwan” in Thai and a verbal recitation to
prepare the boys for the actual ordination in the following day.
The last day begins with the procession of the boys to the temple
for ordination. At the temple, the boys ask permission to be
ordained from the senior monks. Once accepted, the boys then take
vows, change the princely attires to yellow robes and become full
novices. The greatest event then ends here.
The Poy Sang Long Festival attracts a large number of Thai tourists
and has now become popular among foreign tourists as well.
ประเพณีปอยส่างลอง
ปอยส่างลองคือพิธีฉลองเป็นเวลา 3 วันของการบรรพชาสามเณรในศาสนาพุทธ ซึ่งโดยปกติก็
จะจัดให้มีขึ้นในช่วงปลายเดือนมีนาคม หรือไม่ก็ต้นเดือนเมษายนของทุก ๆ ปี ที่จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของประเทศไทย
พิธีนี้เป็นวัฒนธรรมประเพณีของชาวฉานหรือไทใหญ่ (ชนกลุ่มน้อยชาวไทย ผู้ซึ่งอพยพมาจากทาง
เหนือของพม่าและตั้งถิ่นฐานอยู่ในแม่ฮ่องสอนเสียเป็นส่วนใหญ่) ชาวไทใหญ่มีความเลื่อมใส
ศรัทธาในศาสนาพุทธมาก และเพื่อเป็นการสืบทอดประเพณีอันเก่าแก่ของพวกเขา เด็กหนุ่มอายุ
ระหว่าง 7 ถึง 14 ปี จะบรรพชาเป็นสามเณรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาพุทธธรรมและ
เพื่อให้บิดามารดาได้บุญกุศลอีกด้วย แต่เป็นที่เชื่อกันว่าบางทีประเพณีนี้ก็จัดให้มีขึ้นเพื่อตามรอย
เท้าเจ้าชายราหุล ผู้ซึ่งเป็นสามเณรองค์แรกในพุทธศาสนา และเป็นพระโอรสของเจ้าชายสิ
ทธัตถะ (พระพุทธเจ้า) เจ้าชายราหุลทรงสละโลกีย์วิสัย เพื่อดำเนินรอยตามคำสั่งสอนของ
พระบิดา
ประเพณีนี้หลากหลายไปด้วยสีสันและการแสดงมากมาย ทำให้เป็นเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นมากที่สุด
ที่ดึงดูดให้ประชาชนทั่วทั้งจังหวัดมาเข้าร่วมพิธี แต่ก่อนที่จะถึงวันประเพณี เด็กชายจะต้องปลง
ผมและอาบน้ำ แล้วจึงเจิมด้วยน้ำหอม แต่งกายด้วยเครื่องประดับเพชรพลอยเต็มยศ แต่งหน้า
แต่งตาสวยงาน ซึ่งเราเรียกว่า “ลูกแก้ว”
แต่เช้าตรู่ในวันแรกของประเพณีนี้ การเฉลิมฉลองจะเริ่มด้วยขบวนแห่ไปรอบ ๆ เมือง ซึ่งใน
ขบวนแห่นี้ก็จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีประเภทขลุ่ย พิณ ซอ กลอง และฉิ่งฉาบ ในขบวนแห่
ลูกแก้ว แต่ละคนจะมีผู้ติดตาม 3 คน กล่าวคือ คนหนึ่งแบกลูกแก้ว อีกคนหนึ่งกางร่มที่มียอดสูง
ประดับทองกันแดดให้ และคนที่สามคอยปกป้องเพชรพลอยของมีค่าต่าง ๆ ลูกแก้วเหล่านี้จะถูก
นำไปเยี่ยมญาติ ๆ และเพื่อน ๆ และแล้วก็ร่วมรับประทานอาหารรวมกัน หลังจากรับประทาน
อาหารแล้ว ญาติ ๆ และผู้สูงอายุก็จะใช้ด้ายสีขาวผูกข้อมือให้ลูกแก้ว เพื่อป้องกันวิญญาณชั่วร้าย
ต่าง ๆ และแล้วพิธีวันแรกก็เป็นอันจบลง
ในวันที่สองขบวนแห่เดียวกันนี้ก็จะเริ่มทำกันอีก แต่คราวนี้ในขบวนแห่จะประกอบด้วยเครื่อง
สักการะ เพื่อถวายพระพุทธ เครื่องจตุปัจจัยถวายพระสงฆ์ และมีม้าอันเป็นสัญลักษณ์แห่งพาหนะ
ของเจ้าพ่อหลักเมือง ในตอนเย็น หลังจากรับประทานอาหารแล้ว ก็จะมีพิธีทำขวัญและการสวด
คำขวัญ เพื่อเตรียมตัวให้ลูกแก้ว ผู้ซึ่งจะเข้ารับการบรรพชาในวันรุ่งขึ้น
วันสุดท้ายจะเริ่มด้วยขบวนแห่ลูกแก้วไปยังวัด พอถึงวัด ลูกแก้วก็จะกล่าวคำขออนุญาตเพื่อ
บรรพชาจากพระเถระ เมื่อท่านอนุญาต ลูกแก้วก็จะกล่าวคำปฏิญาณตน แล้วจึงเปลี่ยนเครื่อง
แต่งกายเป็นผ้ากาสาวพัตร์สีเหลือง และเป็นสามเณรอย่างสมบูรณ์
ประเพณีปอยส่างลอง ดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวไทยเป็นจำนวนมาก และปัจจุบันนี้ก็เป็นที่นิยมในหมู่
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศอีกด้วย
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : ประเพณีปอยส่างลอง The Poy Sang Long Festival
ตอนที่ : 7
อัพเดตเมื่อ : 18/9/2551 19:14:32
เข้าชม : 2379
เนื้อเรื่อง
The Poy Sang Long Festival
The Poy Sang Long is a three-day celebration of Buddhist novice
ordination which usually takes place in late March or early April of
every year in the Thailand’s most north-western province of Mae Hong
Sorn.
The festival is the custom and tradition of the Shans or Tai Yai an
ethnic Thai tribe who migrated from northern Burma and then
inhabited most of Mae Hong Sorn. The Tai Yais have a strong devotion
to Buddhism, and to follow their age-old tradition the young boys
between the age of 7 and 14 will be ordained as novices for a period
to learn the Buddhist doctrinces and to gain merit for their
parents. It is believed that the tradition is probably to follow in
the footsteps of Prince Rahula, the first Buddhist novice who was
the Buddha’s own son. The young prince gave up his worldly life to
follow his father’s spiritual teachings.
The festival is rich in colour and display making it a most exciting
event that draws residents of the entire province to take part.
Prior to the arrival of the three-day festival, the boys have their
heads shaved and are then bathed and anointed with special waters.
They are dressed up in jewelled finery and their faces are expertly
made up. These boys are known as the “Jewel Princes” or “Look Kaew”
in Thai.
In the early morning of the first day, the celebration begins with a
procession around the town. Accompanying the procession are flutes,
lutes, fiddles, drums and cymbals. In the procession, each boy is
accompanied by three attendants ; one to carry him, another to
shelter him from the sun with a tall gold umbrella, and the third to
guard the precious jewels. The Boys are led to visit relatives and
friends and then join the communion lunch. After the feast,
relatives and the elders tie white threads around the wrists of the
boys to protect them from evil spirits. Thus ends the first day of
the event.
On the second day, the same procession again takes place. This time,
the procession includes offerings for the Buddha, other necessities
for monks and a horse symbolising the vehicle of the spirit of the
city pillar. In the evening, after having dinner, there is the rite
of calling “spirit” or “Kwan” in Thai and a verbal recitation to
prepare the boys for the actual ordination in the following day.
The last day begins with the procession of the boys to the temple
for ordination. At the temple, the boys ask permission to be
ordained from the senior monks. Once accepted, the boys then take
vows, change the princely attires to yellow robes and become full
novices. The greatest event then ends here.
The Poy Sang Long Festival attracts a large number of Thai tourists
and has now become popular among foreign tourists as well.
ประเพณีปอยส่างลอง
ปอยส่างลองคือพิธีฉลองเป็นเวลา 3 วันของการบรรพชาสามเณรในศาสนาพุทธ ซึ่งโดยปกติก็
จะจัดให้มีขึ้นในช่วงปลายเดือนมีนาคม หรือไม่ก็ต้นเดือนเมษายนของทุก ๆ ปี ที่จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือสุดของประเทศไทย
พิธีนี้เป็นวัฒนธรรมประเพณีของชาวฉานหรือไทใหญ่ (ชนกลุ่มน้อยชาวไทย ผู้ซึ่งอพยพมาจากทาง
เหนือของพม่าและตั้งถิ่นฐานอยู่ในแม่ฮ่องสอนเสียเป็นส่วนใหญ่) ชาวไทใหญ่มีความเลื่อมใส
ศรัทธาในศาสนาพุทธมาก และเพื่อเป็นการสืบทอดประเพณีอันเก่าแก่ของพวกเขา เด็กหนุ่มอายุ
ระหว่าง 7 ถึง 14 ปี จะบรรพชาเป็นสามเณรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาพุทธธรรมและ
เพื่อให้บิดามารดาได้บุญกุศลอีกด้วย แต่เป็นที่เชื่อกันว่าบางทีประเพณีนี้ก็จัดให้มีขึ้นเพื่อตามรอย
เท้าเจ้าชายราหุล ผู้ซึ่งเป็นสามเณรองค์แรกในพุทธศาสนา และเป็นพระโอรสของเจ้าชายสิ
ทธัตถะ (พระพุทธเจ้า) เจ้าชายราหุลทรงสละโลกีย์วิสัย เพื่อดำเนินรอยตามคำสั่งสอนของ
พระบิดา
ประเพณีนี้หลากหลายไปด้วยสีสันและการแสดงมากมาย ทำให้เป็นเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นมากที่สุด
ที่ดึงดูดให้ประชาชนทั่วทั้งจังหวัดมาเข้าร่วมพิธี แต่ก่อนที่จะถึงวันประเพณี เด็กชายจะต้องปลง
ผมและอาบน้ำ แล้วจึงเจิมด้วยน้ำหอม แต่งกายด้วยเครื่องประดับเพชรพลอยเต็มยศ แต่งหน้า
แต่งตาสวยงาน ซึ่งเราเรียกว่า “ลูกแก้ว”
แต่เช้าตรู่ในวันแรกของประเพณีนี้ การเฉลิมฉลองจะเริ่มด้วยขบวนแห่ไปรอบ ๆ เมือง ซึ่งใน
ขบวนแห่นี้ก็จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีประเภทขลุ่ย พิณ ซอ กลอง และฉิ่งฉาบ ในขบวนแห่
ลูกแก้ว แต่ละคนจะมีผู้ติดตาม 3 คน กล่าวคือ คนหนึ่งแบกลูกแก้ว อีกคนหนึ่งกางร่มที่มียอดสูง
ประดับทองกันแดดให้ และคนที่สามคอยปกป้องเพชรพลอยของมีค่าต่าง ๆ ลูกแก้วเหล่านี้จะถูก
นำไปเยี่ยมญาติ ๆ และเพื่อน ๆ และแล้วก็ร่วมรับประทานอาหารรวมกัน หลังจากรับประทาน
อาหารแล้ว ญาติ ๆ และผู้สูงอายุก็จะใช้ด้ายสีขาวผูกข้อมือให้ลูกแก้ว เพื่อป้องกันวิญญาณชั่วร้าย
ต่าง ๆ และแล้วพิธีวันแรกก็เป็นอันจบลง
ในวันที่สองขบวนแห่เดียวกันนี้ก็จะเริ่มทำกันอีก แต่คราวนี้ในขบวนแห่จะประกอบด้วยเครื่อง
สักการะ เพื่อถวายพระพุทธ เครื่องจตุปัจจัยถวายพระสงฆ์ และมีม้าอันเป็นสัญลักษณ์แห่งพาหนะ
ของเจ้าพ่อหลักเมือง ในตอนเย็น หลังจากรับประทานอาหารแล้ว ก็จะมีพิธีทำขวัญและการสวด
คำขวัญ เพื่อเตรียมตัวให้ลูกแก้ว ผู้ซึ่งจะเข้ารับการบรรพชาในวันรุ่งขึ้น
วันสุดท้ายจะเริ่มด้วยขบวนแห่ลูกแก้วไปยังวัด พอถึงวัด ลูกแก้วก็จะกล่าวคำขออนุญาตเพื่อ
บรรพชาจากพระเถระ เมื่อท่านอนุญาต ลูกแก้วก็จะกล่าวคำปฏิญาณตน แล้วจึงเปลี่ยนเครื่อง
แต่งกายเป็นผ้ากาสาวพัตร์สีเหลือง และเป็นสามเณรอย่างสมบูรณ์
ประเพณีปอยส่างลอง ดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวไทยเป็นจำนวนมาก และปัจจุบันนี้ก็เป็นที่นิยมในหมู่
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศอีกด้วย
The Giant Cat Fish-ปลาบึก
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Giant Cat Fish-ปลาบึก
ตอนที่ : 19
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:12:46
เข้าชม : 3425
เนื้อเรื่อง
The Giant Cat Fish
Every year, at Hat Krai Village of the northernmost province of
Chiang Rai between April and May, Thai and Laotian fishermen will be
very busy casting their 250-metre long nylon net to catch the Gian
Catfish in the Mekong River
The Giant Catfish is known in Thai as “Pla Buk”. This giant of
freshwater and the King of Mekong River can grow up to 300
kilogrammes and 3 metre after 15 years. During this period of the
year as it is the mating season the fish will migrate up the river
to spawn. Unfortunately, on the way they become the victims of the
deathtrap laid by the fishermen of the two countries.
In fact, before catching the fish, the Brahmin rituals must be held
in order to please the Father-spirit of Pla Buk. It is believed
ceremony. After performing the rituals, Thai and Laotian fishermen
will build temporary bamboo shelter on their respective islands.
After each crew has offered a chicken and local-made liquor to the
guardian spirit of their boat, they then burn a special herb to
drive away the evil ghosts from the net. Not the hunting begins.
The fishing rotation is decided by a draw. Everybody is waiting for
his turn enthusiastically and immediately after a Thai team has
gone, a Laotian boat is ready to push off.
It is said that the problem in its flesh is good for nourishing the
brain much more than any other animal protein and it is also
believed that whoever tastes the fish will have a long life and
become clever. So its meat has become favourite and expensive dish
served in leading restaurants in nearby province and also in
Bangkok. Each season about 25-30 giant catfishes will be caught by
fishermen of the two countries.
The fishing season also attracts a lot of attention from both local
and foreign tourists who are enthusiastic to see the freshwater
monster. Unless the fish faces extinction, the fishing season will
be carried on from generation to generation of both countries.
ปลาบึก
ทุกๆ ปีระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ที่หมู่บ้านหาดไคร้ในจังหวัดเชียงรายซึ่งอยู่
เหนือสุดของประเทศ ชาวประมงไทยและลาวจะยุ่งอยู่กับการวางอวนไนลอนที่มีความยาวถึง
250 เมตร เพื่อจับปลาบึกในลำน้ำโขง
The Giant Catfish นี้ภาษาไทยเรียกว่า “ปลาบึก” ซึ่งเป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่และเป็น
ราชาแห่งลำน้ำโขง เพราะว่ามันสามารถเจริญเติบโตจนมีน้ำหนักถึง 300 กิโลกรัม และมี
ขนาดลำตัวยาวถึง 3 เมตร หลังจากอายุได้ 15 ปี ในช่วงระยะเวลานี้ของปีซึ่งเป็นฤดูวางไข่
ปลาบึกจะว่ายทวนน้ำขึ้นไปวางไข่ อนิจจา! ในระหว่างการเดินทางไปวางไข่นี้เองที่เจ้าแห่ง
ลำน้ำโขงต้องมาสังเวยชีวิตให้กับชาวประมงทั้ง 2 ประเทศนี้
ที่จริงแล้วก่อนที่จะเริ่มจับปลานี้ จะต้องมีการจัดพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์เสียก่อน เพื่อเป็น
การเอาใจเจ้าพ่อปลาบึก เป็นที่เชื่อกันว่า ตลอดฤดูกาลจับปลานี้จะประสบความสำเร็จหรือไม่
นั้น ส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับพิธีเริ่มนี้ด้วย หลังจากเสร็จพิธีกรรมแล้วชาวประมงไทยและลาวก็จะทำ
การสร้างที่พักชั่วคราวด้วยไม้ไผ่บนฝั่งในประเทศของตน และหลังจากที่ลูกเรือแต่ละคนได้เซ่น
ไหว้ด้วยไก่และเหล้าขาวต่อแม่ย่านางประจำเรือของตนแล้ว พวกเขาก็จะเผาสมุนไพรชนิดหนึ่ง
เพื่อขับไล่วิญญาณชั่วร้ายให้ออกไปจากอวน และนับจากนี้ไปการไล่ล่าก็จะเริ่มขึ้น
การจับปลาก็จะหมุนเวียนกันในแต่ละทีมของแต่ละประเทศทั้ง 2 โดยการจับฉลาก ทุกคนต่างก็
รอให้ถึงรอบของตนอย่างกระตือรือร้นและทันทีที่ทีมไทยบ่ายหน้าออกไป เรือของฝ่ายลาวก็
เตรียมพร้อมที่จะทะยานออกไปทันทีที่ถึงรอบของตน
กล่าวกันว่าโปรตีนที่ได้จากเนื้อของปลาบึกนี้เป็นอาหารบำรุงสมองได้ดีกว่าโปรตีนที่ได้จากสัตว์
อื่นๆ และยังเชื่อกันอีกว่าใครก็ตามที่ได้ลิ้มรสของปลานี้แล้วจะทำให้อายุยืนและชาญฉลาด ดังนั้น
ปลาบึกจึงดูเหมือนว่าจะกลายเป็นอาหารจานโปรดและค่อนข้างแพง ซึ่งมีบริการในภัตตาคารทั้ง
ในจังหวัดใกล้เคียงและกรุงเทพมหานคร แต่ละช่วงฤดูกาลชาวประมงของทั้ง 2 ประเทศ
สามารถจับปลาบึกได้ประมาณ 25-30 ตัว
นอกจากนี้ฤดูกาลจับปลาบึกยังสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศผู้ซึ่ง
กระตือรือร้นที่จะดูเจ้าสัตว์ประหลาดน้ำจืดนี้อีกด้วย ตราบใดที่ปลาบึกยังไม่สูญพันธุ์ ฤดูกาลไล่ล่า
ก็จะยังคงมีการสืบทอดกันต่อๆ ไป โดยอนุชนรุ่นหลังของทั้ง 2 ประเทศ
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Giant Cat Fish-ปลาบึก
ตอนที่ : 19
อัพเดตเมื่อ : 21/1/2552 22:12:46
เข้าชม : 3425
เนื้อเรื่อง
The Giant Cat Fish
Every year, at Hat Krai Village of the northernmost province of
Chiang Rai between April and May, Thai and Laotian fishermen will be
very busy casting their 250-metre long nylon net to catch the Gian
Catfish in the Mekong River
The Giant Catfish is known in Thai as “Pla Buk”. This giant of
freshwater and the King of Mekong River can grow up to 300
kilogrammes and 3 metre after 15 years. During this period of the
year as it is the mating season the fish will migrate up the river
to spawn. Unfortunately, on the way they become the victims of the
deathtrap laid by the fishermen of the two countries.
In fact, before catching the fish, the Brahmin rituals must be held
in order to please the Father-spirit of Pla Buk. It is believed
ceremony. After performing the rituals, Thai and Laotian fishermen
will build temporary bamboo shelter on their respective islands.
After each crew has offered a chicken and local-made liquor to the
guardian spirit of their boat, they then burn a special herb to
drive away the evil ghosts from the net. Not the hunting begins.
The fishing rotation is decided by a draw. Everybody is waiting for
his turn enthusiastically and immediately after a Thai team has
gone, a Laotian boat is ready to push off.
It is said that the problem in its flesh is good for nourishing the
brain much more than any other animal protein and it is also
believed that whoever tastes the fish will have a long life and
become clever. So its meat has become favourite and expensive dish
served in leading restaurants in nearby province and also in
Bangkok. Each season about 25-30 giant catfishes will be caught by
fishermen of the two countries.
The fishing season also attracts a lot of attention from both local
and foreign tourists who are enthusiastic to see the freshwater
monster. Unless the fish faces extinction, the fishing season will
be carried on from generation to generation of both countries.
ปลาบึก
ทุกๆ ปีระหว่างเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม ที่หมู่บ้านหาดไคร้ในจังหวัดเชียงรายซึ่งอยู่
เหนือสุดของประเทศ ชาวประมงไทยและลาวจะยุ่งอยู่กับการวางอวนไนลอนที่มีความยาวถึง
250 เมตร เพื่อจับปลาบึกในลำน้ำโขง
The Giant Catfish นี้ภาษาไทยเรียกว่า “ปลาบึก” ซึ่งเป็นปลาน้ำจืดขนาดใหญ่และเป็น
ราชาแห่งลำน้ำโขง เพราะว่ามันสามารถเจริญเติบโตจนมีน้ำหนักถึง 300 กิโลกรัม และมี
ขนาดลำตัวยาวถึง 3 เมตร หลังจากอายุได้ 15 ปี ในช่วงระยะเวลานี้ของปีซึ่งเป็นฤดูวางไข่
ปลาบึกจะว่ายทวนน้ำขึ้นไปวางไข่ อนิจจา! ในระหว่างการเดินทางไปวางไข่นี้เองที่เจ้าแห่ง
ลำน้ำโขงต้องมาสังเวยชีวิตให้กับชาวประมงทั้ง 2 ประเทศนี้
ที่จริงแล้วก่อนที่จะเริ่มจับปลานี้ จะต้องมีการจัดพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์เสียก่อน เพื่อเป็น
การเอาใจเจ้าพ่อปลาบึก เป็นที่เชื่อกันว่า ตลอดฤดูกาลจับปลานี้จะประสบความสำเร็จหรือไม่
นั้น ส่วนหนึ่งก็ขึ้นอยู่กับพิธีเริ่มนี้ด้วย หลังจากเสร็จพิธีกรรมแล้วชาวประมงไทยและลาวก็จะทำ
การสร้างที่พักชั่วคราวด้วยไม้ไผ่บนฝั่งในประเทศของตน และหลังจากที่ลูกเรือแต่ละคนได้เซ่น
ไหว้ด้วยไก่และเหล้าขาวต่อแม่ย่านางประจำเรือของตนแล้ว พวกเขาก็จะเผาสมุนไพรชนิดหนึ่ง
เพื่อขับไล่วิญญาณชั่วร้ายให้ออกไปจากอวน และนับจากนี้ไปการไล่ล่าก็จะเริ่มขึ้น
การจับปลาก็จะหมุนเวียนกันในแต่ละทีมของแต่ละประเทศทั้ง 2 โดยการจับฉลาก ทุกคนต่างก็
รอให้ถึงรอบของตนอย่างกระตือรือร้นและทันทีที่ทีมไทยบ่ายหน้าออกไป เรือของฝ่ายลาวก็
เตรียมพร้อมที่จะทะยานออกไปทันทีที่ถึงรอบของตน
กล่าวกันว่าโปรตีนที่ได้จากเนื้อของปลาบึกนี้เป็นอาหารบำรุงสมองได้ดีกว่าโปรตีนที่ได้จากสัตว์
อื่นๆ และยังเชื่อกันอีกว่าใครก็ตามที่ได้ลิ้มรสของปลานี้แล้วจะทำให้อายุยืนและชาญฉลาด ดังนั้น
ปลาบึกจึงดูเหมือนว่าจะกลายเป็นอาหารจานโปรดและค่อนข้างแพง ซึ่งมีบริการในภัตตาคารทั้ง
ในจังหวัดใกล้เคียงและกรุงเทพมหานคร แต่ละช่วงฤดูกาลชาวประมงของทั้ง 2 ประเทศ
สามารถจับปลาบึกได้ประมาณ 25-30 ตัว
นอกจากนี้ฤดูกาลจับปลาบึกยังสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศผู้ซึ่ง
กระตือรือร้นที่จะดูเจ้าสัตว์ประหลาดน้ำจืดนี้อีกด้วย ตราบใดที่ปลาบึกยังไม่สูญพันธุ์ ฤดูกาลไล่ล่า
ก็จะยังคงมีการสืบทอดกันต่อๆ ไป โดยอนุชนรุ่นหลังของทั้ง 2 ประเทศ
วันครู-The Teacher’s Day
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : วันครู-The Teacher’s Day
ตอนที่ : 27
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:56:04
เข้าชม : 5279
เนื้อเรื่อง
The Teacher’s Day
In 1956 Prime Minister Field Marshal P. Pibulsongkram, who was the
Honorary Chairman of the Board of Directors of the Teachers’ Council
at that time, addressed a gathering of teachers from throughout the
country and suggested that as teachers were our benefactors and
persons who gave light to our life they should have a day of their
own so that their students would get an opportunity to pay respect
to them. He continued, “On other auspicious days such as New Year’s
Day and the Songkran Festival we pay a tribute to both our living
and dead relatives and make merit in dedication to their souls.
Since our teachers play an important role next to our parents, I
would like to propose the idea to this gathering and ask you to
consider it in principle. I hope no one will object to this idea.”
As a result of his remarks and the welcoming opinions expressed by
the teachers through the media, which reported that a Teachers’Day
should be held in order to remember their significance as the ones
who make a great sacrifice and do good deeds for the benefit of the
nation and the people as a whole. The Teachers’ Council unanimously
agreed to set up Teachers’ Day in order to hold a ceremony to pay a
tribute to the teachers, to promote unity among teachers and to
promote better understanding between teachers and the general public.
Thus, on November 21, 1956, the Cabinet passed a resolution to
announce January 16 of every year as Teachers’ Day and it was
celebrated for the first time on January 16, 1957. The event has
been held since then and is held nationwide. The highlights of the
day include religious activities, a ceremony of paying respect to
teachers and activities to strengthen unity among teachers.
To express our gratitude to the teachers, we wish them and their
families happiness and a good health throughout their long life.
วันครู
ในปี พ.ศ. 2499 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการอำนวยการคุรุ
สภากิตติมศักดิ์ในสมัยนั้นได้กล่าวคำปราศรัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศและได้เสนอแนะว่า
“เนื่องจากครูเป็นผู้มีบุญคุณและเป็นผู้ให้แสงสว่างในชีวิตของเราทั้งหลาย ครูจึงควรมีสักวันหนึ่ง
สำหรับให้บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายได้มีโอกาสแสดงความเคารพสักการะ จะเห็นว่าในวันสำคัญอื่น
ๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่และวันสงกรานต์ พวกเราก็จะแสดงความเคารพสักการะต่อญาติๆ ทั้งที่ยังมี
ชีวิตอยู่และที่เสียชีวิตไปแล้ว และยังมีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วอีกด้วย
และเนื่องจากครูของพวกเรามีบทบาทสำคัญถัดจากบิดามารดาข้าพเจ้าจึงใคร่ที่จะเสนอความคิด
นี้ ต่อที่ประชุมนี้และขอร้องให้พวกท่านนำไปพิจารณาในหลักการ หวังว่าทุกคนคงจะไม่ขัดข้อง”
จากแนวความคิดนี้ กอปรกับความคิดเห็นของครูที่แสดงออกทางสื่อมวลชน ล้วนเรียกร้องให้มีวัน
ครู เพื่อให้เป็นวันแห่งการรำลึกถึงความสำคัญของครูในฐานะที่เป็นผู้เสียสละ ประกอบคุณงาม
ความดีเพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นอันมาก ที่ประชุมคุรุสภาจึงมีมติเห็นควรให้มีวัน
ครูเพื่อที่จะได้ประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์ ส่งเสริมความสามัคคีระหว่างครู และเพื่อส่ง
เสริมความเข้าใจอันดีระหว่างครูกับประชาชน
ดังนั้นในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้วันที่ 16 มกราคม ของทุก
ๆ ปีเป็น “วันครู” และการจัดงานวันครูได้มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.
2500 และได้ดำเนินเรื่อยมาทุกปีนับแต่บัดนั้นมาโดยจัดให้มีขึ้นพร้อมกันทั่วประเทศ ซึ่งกิจกรรม
หลักในวันนั้นประกอบด้วยพิธีกรรมทางศาสนา พิธีรำลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์และกิจกรรมเพื่อ
ความสามัคคีระหว่างผู้ประกอบอาชีพครู
เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อครู พวกเราจึงขออวยพรให้ท่านและครอบครัวของท่านมีความ
สุข ความเจริญและมีสุขภาพแข็งแรงตราบชั่วอายุไขอันยาวนาน
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : วันครู-The Teacher’s Day
ตอนที่ : 27
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:56:04
เข้าชม : 5279
เนื้อเรื่อง
The Teacher’s Day
In 1956 Prime Minister Field Marshal P. Pibulsongkram, who was the
Honorary Chairman of the Board of Directors of the Teachers’ Council
at that time, addressed a gathering of teachers from throughout the
country and suggested that as teachers were our benefactors and
persons who gave light to our life they should have a day of their
own so that their students would get an opportunity to pay respect
to them. He continued, “On other auspicious days such as New Year’s
Day and the Songkran Festival we pay a tribute to both our living
and dead relatives and make merit in dedication to their souls.
Since our teachers play an important role next to our parents, I
would like to propose the idea to this gathering and ask you to
consider it in principle. I hope no one will object to this idea.”
As a result of his remarks and the welcoming opinions expressed by
the teachers through the media, which reported that a Teachers’Day
should be held in order to remember their significance as the ones
who make a great sacrifice and do good deeds for the benefit of the
nation and the people as a whole. The Teachers’ Council unanimously
agreed to set up Teachers’ Day in order to hold a ceremony to pay a
tribute to the teachers, to promote unity among teachers and to
promote better understanding between teachers and the general public.
Thus, on November 21, 1956, the Cabinet passed a resolution to
announce January 16 of every year as Teachers’ Day and it was
celebrated for the first time on January 16, 1957. The event has
been held since then and is held nationwide. The highlights of the
day include religious activities, a ceremony of paying respect to
teachers and activities to strengthen unity among teachers.
To express our gratitude to the teachers, we wish them and their
families happiness and a good health throughout their long life.
วันครู
ในปี พ.ศ. 2499 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและประธานกรรมการอำนวยการคุรุ
สภากิตติมศักดิ์ในสมัยนั้นได้กล่าวคำปราศรัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศและได้เสนอแนะว่า
“เนื่องจากครูเป็นผู้มีบุญคุณและเป็นผู้ให้แสงสว่างในชีวิตของเราทั้งหลาย ครูจึงควรมีสักวันหนึ่ง
สำหรับให้บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายได้มีโอกาสแสดงความเคารพสักการะ จะเห็นว่าในวันสำคัญอื่น
ๆ เช่น วันขึ้นปีใหม่และวันสงกรานต์ พวกเราก็จะแสดงความเคารพสักการะต่อญาติๆ ทั้งที่ยังมี
ชีวิตอยู่และที่เสียชีวิตไปแล้ว และยังมีการทำบุญเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ญาติผู้ล่วงลับไปแล้วอีกด้วย
และเนื่องจากครูของพวกเรามีบทบาทสำคัญถัดจากบิดามารดาข้าพเจ้าจึงใคร่ที่จะเสนอความคิด
นี้ ต่อที่ประชุมนี้และขอร้องให้พวกท่านนำไปพิจารณาในหลักการ หวังว่าทุกคนคงจะไม่ขัดข้อง”
จากแนวความคิดนี้ กอปรกับความคิดเห็นของครูที่แสดงออกทางสื่อมวลชน ล้วนเรียกร้องให้มีวัน
ครู เพื่อให้เป็นวันแห่งการรำลึกถึงความสำคัญของครูในฐานะที่เป็นผู้เสียสละ ประกอบคุณงาม
ความดีเพื่อประโยชน์ของชาติและประชาชนเป็นอันมาก ที่ประชุมคุรุสภาจึงมีมติเห็นควรให้มีวัน
ครูเพื่อที่จะได้ประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์ ส่งเสริมความสามัคคีระหว่างครู และเพื่อส่ง
เสริมความเข้าใจอันดีระหว่างครูกับประชาชน
ดังนั้นในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้วันที่ 16 มกราคม ของทุก
ๆ ปีเป็น “วันครู” และการจัดงานวันครูได้มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.
2500 และได้ดำเนินเรื่อยมาทุกปีนับแต่บัดนั้นมาโดยจัดให้มีขึ้นพร้อมกันทั่วประเทศ ซึ่งกิจกรรม
หลักในวันนั้นประกอบด้วยพิธีกรรมทางศาสนา พิธีรำลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์และกิจกรรมเพื่อ
ความสามัคคีระหว่างผู้ประกอบอาชีพครู
เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อครู พวกเราจึงขออวยพรให้ท่านและครอบครัวของท่านมีความ
สุข ความเจริญและมีสุขภาพแข็งแรงตราบชั่วอายุไขอันยาวนาน
The Royal Ploughing Ceremony
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Royal Ploughing Ceremony
ตอนที่ : 3
อัพเดตเมื่อ : 28/8/2551 20:34:03
เข้าชม : 5164
เนื้อเรื่อง
The annual Ploughing Ceremony usually takes place in May every year
at Sanam Luang near the Grand Palace in Bangkok. The ceremony has
been performed since ancient times and designed to give an
auspicious beginning to the new planting season.
In fact, the Ploughing Ceremony is of Brahman origin and it was
practised even before the birth of Lord Buddha who, then a Prince,
used to take part in the ceremony. The auspicious day and time are
to set by the Royal Brahman astrologers. Nowadays, although Their
Majesties are present at the ceremony, the King no longer takes the
leading role, His Majesty the King appoints the Ploughing Lord as
his representative to carry out the rites.
During this colourful ceremony, the amount of rainfall to be
expected in the coming season is forecast. The Ploughing Lord is
offered a choice of three lengths of cloth, all looking identical,
if his choice is the longest one there will be little rain during
the coming year; if it is the shortest one, rain will be plentiful
while the one of medium length indicates average rain.
After donning the piece of cloth, called “Panung”, the Ploughing
Lord then ploughs furrows in Sanam Luang with a sacred plough of red
and gold drawn by sacred white bulls and followed by four
consecrated ladies who carry gold and silver baskets filled with
rice seed. Walking alongside the plough are Brahmans who are
chanting and blowing conch shells.
When the ploughing is finished the bulls are presented with seven
different foods and drink, i.e. rice seed, beans, maize, hays,
sesame seed, water and alcoholic liquor. Whatever the bulls choose
to eat or drink, it is forecast that this will be plentiful during
the year.
After the ceremony has ended, the crowds scramble for the seeds sown
by the Ploughing Lord as the seeds are regarded as things that twill
bring the owners wealth and good luck. The farmers will mix the
seeds with their own rice to ensure a good crop in the coming year.
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ<
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้ จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมของทุก ๆ ปีที่ท้องสนามหลวง
ใกล้พระบรมมหาราชวังในกรุงเทพมหานคร ประเพณีนี้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตกาล โดยมุ่งหวังที่
จะให้เป็นสิริมงคลแก่ฤดูกาลเพาะปลูกใหม่
ความจริงแล้ว พิธีแรกนาขวัญนี้มีแหล่งกำเนิดมาจากศาสนาพราหมณ์และถือปฏิบัติกันมาก่อนสมัย
พุทธกาลเสียด้วยซ้ำไป ดังจะเห็นได้จากครั้งที่พระองค์ยังทรงเป็นเจ้าชายก็ยังเคยเข้าร่วมพิธีนี้
ส่วนวันและเวลา อันเป็นมงคลสำหรับการประกอบพิธีนั้นก็จะถูกกำหนดขึ้นโดยโหรหลวง ทุกวันนี้
แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จะทรงเสด็จมา
เป็นประธานในพิธีแต่พระมหากษัตริย์ก็ไม่ได้ทรงนำขบวนด้วยพระองค์เอง หากแต่ทรงแต่งตั้ง
พระยาแรกนาขวัญให้เป็นผู้นำในพิธีแทน
ในระหว่างพิธีอันสวยงามนี้ ก็จะมีการทำนายปริมาณน้ำฝนในช่วงฤดูฝนที่กำลังจะมาถึง และแล้ว
พระยาแรกนาก็จะทำการเลือกผ้า 3 ผืน ที่มีความยาวต่างขนาดกัน ตามชอบใน ผ้าทั้ง 3 ผืน
นี้จะดูคล้ายกัน ถ้าพระยาแรกนาเลือกผืนที่ยาวที่สุดก็ทายว่าปริมาณน้ำฝนจะมีน้อย ถ้าเลือกผืนที่
สั้นที่สุดก็ทายว่าปีนี้ปริมาณน้ำฝนจะมากและถ้าเลือกผืนที่มีความยาวขนาดปานกลางทายว่าจะมี
ปริมาณน้ำฝนพอประมาณ
หลังจากสวมเสื้อผ้าเรียกว่า “ผ้านุ่ง” เรียบร้อยแล้ว พระยาแรกนาก็จะไถลงไปบนพื้นที่ท้อง
สนามหลวงด้วยพระนังคัลสีแดงและสีทองซึ่งลากโดยพระโคผู้สีขาว ตามขบวนด้วยเทพีทั้ง 4 ผู้
ซึ่งหาบกระเช้าทองและกระเช้าเงินที่บรรจุด้วยเมล็ดข้าวเปลือก นอกจากนี้ก็ยังมีคณะพราหมณ์
เดินคู่ไปกับขบวนพร้อมทั้งสวดและเป่าสังข์ไปพร้อมๆ กัน
เมื่อเสร็จจากการไถแล้ว พระโคก็จะได้รับการป้อนพระกระยาหารและเครื่องดื่ม 7 ชนิด คือ
เมล็ดข้าว ถั่ว ข้าวโพด หญ้า เมล็ดงา น้ำ และเหล้า ไม่ว่าพระโคจะเลือกกินหรือดื่มสิ่งใด ก็
ทายว่าปีนั้นจะอุดมสมบูรณ์ด้วยสิ่งที่พระโคเลือกนั้น
หลังจากพิธีจบลง ฝูงชนก็จะกรูเข้าไปแย่งเมล็ดข้าวที่หว่านโดยพระยาแรกนา เพราะว่าเมล็ด
ข้าวนี้ถือว่า เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันจะนำมาซึ่งความอุดมสมบูรณ์และความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่มีไว้ใน
ครอบครองชาวนาก็จะใช้เมล็ดข้าวนี้ผสมกับเมล็ดข้าวของตนเพื่อให้พืชผลในปีที่จะมาถึงนี้อุดมสมบูรณ์
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : The Royal Ploughing Ceremony
ตอนที่ : 3
อัพเดตเมื่อ : 28/8/2551 20:34:03
เข้าชม : 5164
เนื้อเรื่อง
The annual Ploughing Ceremony usually takes place in May every year
at Sanam Luang near the Grand Palace in Bangkok. The ceremony has
been performed since ancient times and designed to give an
auspicious beginning to the new planting season.
In fact, the Ploughing Ceremony is of Brahman origin and it was
practised even before the birth of Lord Buddha who, then a Prince,
used to take part in the ceremony. The auspicious day and time are
to set by the Royal Brahman astrologers. Nowadays, although Their
Majesties are present at the ceremony, the King no longer takes the
leading role, His Majesty the King appoints the Ploughing Lord as
his representative to carry out the rites.
During this colourful ceremony, the amount of rainfall to be
expected in the coming season is forecast. The Ploughing Lord is
offered a choice of three lengths of cloth, all looking identical,
if his choice is the longest one there will be little rain during
the coming year; if it is the shortest one, rain will be plentiful
while the one of medium length indicates average rain.
After donning the piece of cloth, called “Panung”, the Ploughing
Lord then ploughs furrows in Sanam Luang with a sacred plough of red
and gold drawn by sacred white bulls and followed by four
consecrated ladies who carry gold and silver baskets filled with
rice seed. Walking alongside the plough are Brahmans who are
chanting and blowing conch shells.
When the ploughing is finished the bulls are presented with seven
different foods and drink, i.e. rice seed, beans, maize, hays,
sesame seed, water and alcoholic liquor. Whatever the bulls choose
to eat or drink, it is forecast that this will be plentiful during
the year.
After the ceremony has ended, the crowds scramble for the seeds sown
by the Ploughing Lord as the seeds are regarded as things that twill
bring the owners wealth and good luck. The farmers will mix the
seeds with their own rice to ensure a good crop in the coming year.
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ<
พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญนี้ จะมีขึ้นในเดือนพฤษภาคมของทุก ๆ ปีที่ท้องสนามหลวง
ใกล้พระบรมมหาราชวังในกรุงเทพมหานคร ประเพณีนี้ถือปฏิบัติมาตั้งแต่อดีตกาล โดยมุ่งหวังที่
จะให้เป็นสิริมงคลแก่ฤดูกาลเพาะปลูกใหม่
ความจริงแล้ว พิธีแรกนาขวัญนี้มีแหล่งกำเนิดมาจากศาสนาพราหมณ์และถือปฏิบัติกันมาก่อนสมัย
พุทธกาลเสียด้วยซ้ำไป ดังจะเห็นได้จากครั้งที่พระองค์ยังทรงเป็นเจ้าชายก็ยังเคยเข้าร่วมพิธีนี้
ส่วนวันและเวลา อันเป็นมงคลสำหรับการประกอบพิธีนั้นก็จะถูกกำหนดขึ้นโดยโหรหลวง ทุกวันนี้
แม้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ จะทรงเสด็จมา
เป็นประธานในพิธีแต่พระมหากษัตริย์ก็ไม่ได้ทรงนำขบวนด้วยพระองค์เอง หากแต่ทรงแต่งตั้ง
พระยาแรกนาขวัญให้เป็นผู้นำในพิธีแทน
ในระหว่างพิธีอันสวยงามนี้ ก็จะมีการทำนายปริมาณน้ำฝนในช่วงฤดูฝนที่กำลังจะมาถึง และแล้ว
พระยาแรกนาก็จะทำการเลือกผ้า 3 ผืน ที่มีความยาวต่างขนาดกัน ตามชอบใน ผ้าทั้ง 3 ผืน
นี้จะดูคล้ายกัน ถ้าพระยาแรกนาเลือกผืนที่ยาวที่สุดก็ทายว่าปริมาณน้ำฝนจะมีน้อย ถ้าเลือกผืนที่
สั้นที่สุดก็ทายว่าปีนี้ปริมาณน้ำฝนจะมากและถ้าเลือกผืนที่มีความยาวขนาดปานกลางทายว่าจะมี
ปริมาณน้ำฝนพอประมาณ
หลังจากสวมเสื้อผ้าเรียกว่า “ผ้านุ่ง” เรียบร้อยแล้ว พระยาแรกนาก็จะไถลงไปบนพื้นที่ท้อง
สนามหลวงด้วยพระนังคัลสีแดงและสีทองซึ่งลากโดยพระโคผู้สีขาว ตามขบวนด้วยเทพีทั้ง 4 ผู้
ซึ่งหาบกระเช้าทองและกระเช้าเงินที่บรรจุด้วยเมล็ดข้าวเปลือก นอกจากนี้ก็ยังมีคณะพราหมณ์
เดินคู่ไปกับขบวนพร้อมทั้งสวดและเป่าสังข์ไปพร้อมๆ กัน
เมื่อเสร็จจากการไถแล้ว พระโคก็จะได้รับการป้อนพระกระยาหารและเครื่องดื่ม 7 ชนิด คือ
เมล็ดข้าว ถั่ว ข้าวโพด หญ้า เมล็ดงา น้ำ และเหล้า ไม่ว่าพระโคจะเลือกกินหรือดื่มสิ่งใด ก็
ทายว่าปีนั้นจะอุดมสมบูรณ์ด้วยสิ่งที่พระโคเลือกนั้น
หลังจากพิธีจบลง ฝูงชนก็จะกรูเข้าไปแย่งเมล็ดข้าวที่หว่านโดยพระยาแรกนา เพราะว่าเมล็ด
ข้าวนี้ถือว่า เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์อันจะนำมาซึ่งความอุดมสมบูรณ์และความเป็นสิริมงคลแก่ผู้ที่มีไว้ใน
ครอบครองชาวนาก็จะใช้เมล็ดข้าวนี้ผสมกับเมล็ดข้าวของตนเพื่อให้พืชผลในปีที่จะมาถึงนี้อุดมสมบูรณ์
National Children’s Day-วันเด็กแห่งชาติ
*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : National Children’s Day-วันเด็กแห่งชาติ
ตอนที่ : 26
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:53:56
เข้าชม : 3194
เนื้อเรื่อง
National Children’s Day
Children are considered as the most valuable resources of the
nation. They are a powerful force in the development and stability
of the nation. Normally, the age of children taking part in the
celebrations should be less than 14 years old.
To prepare themselves to be strength of the nation, children should
be industrious in their study, make use of their time wisely, being
disciplined, diligent, helpful to each other, unselfish, being aware
of right and duty and responsible towards the society. In addition,
they should keep the country clean and conserve the natural
environment and public property. If children are aware of their own
future and of the nation by behaving in such a way, they will be
called “Worthy Children” and the country will be prosperous.
At the same time, to stimulate children to be aware of their
significant role in the country, the National Children’s Day was
held for the first time on the first Monday of October 1955 and
continued until 1963. Then it was changed to the second Saturday of
January as at this time the rainy season is over and it is a
government holiday. This is still in practice today.
The government has set up an organising committee to co-ordinate
with several agencies in both public and private sectors to organise
the celebration simultaneously throughout the country. The
objectives are to enable children to realize their importance, to be
disciplined, being aware of right and duty, responsibility towards
the society, be proud of their country, Religion and Monarchy, and
believe in a democratic system having the King as the head of state.
Every year on this day, His Majesty the King gives an advice while
the Supreme Patriarch gives a moral teaching. The Prime Minister
also gives a slogan. This indicates that children are the most
valuable resource of the nation. We often hear the saying that,
“Children are the future of the nation, if the children are
intelligent, the country will be prosperous.” Therefore, children
should ask themselves whether they are worthy children or not.
On this day, many interesting places such as the Duzit Zoo, the
Army, Navy, and Airforce bases, Government House and Parliament
House are opened for children to visit. Thus, all children look
forward to National Children’s Day.
วันเด็กแห่งชาติ
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติ เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้
เจริญก้าวหน้าและมั่นคง โดยปกติอายุของเด็กที่เข้าร่วมฉลองในงานนี้จะต่ำกว่า 14 ปี
เพื่อเตรียมพร้อมให้ตนเองเป็นกำลังของชาติ เด็กควรจะมีความขยันหมั่นศึกษาหาความรู้ รู้จัก
ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ มีระเบียบวินัย ขยันขันแข็ง ช่วยเหลือกันและกัน เสียสละรู้จักสิทธิ
หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งรักษาความสะอาดและรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสาธารณสมบัติ ถ้าหากเด็กตระหนักถึงอนาคตของตนเองและของชาติโดยการปฏิบัติตนตามที่
กล่าวมานั้น ก็จะได้ชื่อว่าเป็น “เด็กดี” และประเทศชาติก็จะเจริญรุ่งเรือง
ในขณะเดียวกัน เพื่อกระตุ้นให้เด็กตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญของตนในประเทศ จึงได้มีการจัด
งานวันเด็กแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรกในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2498 และถือปฏิบัติ
เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 2506 แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็นวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม เพราะเป็น
ช่วงหมดฤดูฝนแล้วและเป็นวันหยุดราชการอีกด้วย ดังนั้นจึงถือปฏิบัติมาจนถึงวันนี้
ในการจัดงานวันเด็กแห่งชาตินั้น ทางรัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อ
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งทางภาครัฐและเอกชนเพื่อจะได้จัดฉลองพร้อมกันทั่วทั้ง
ประเทศโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของตนเองมีระเบียบวินัย
ตระหนักถึงสิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความภูมิใจในชาติศาสนา และพระมหา
กษัตริย์ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ทุกๆ ปี ในวันนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะพระราชทานพระบรมราโชวาท สมเด็จพระ
สังฆราชเจา ทรงโปรดประทานพระคติธรรม และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีจะมอบคำขวัญวันเด็ก
นี่ก็แสดงให้เห็นว่าเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดของชาติ เราจึงได้ยินคำพูดอยู่บ่อย ๆ ว่า
“เด็กคืออนาคตของชาติ เด็กฉลาด ชาติเจริญ” ดังนั้นเด็ก ๆ จึงควรถามตนเองว่าตนเป็นเด็ก
ดีหรือไม่
ในวันนี้สถานที่น่าสนใจหลายแห่ง เช่น สวนสัตว์ดุสิต กองทัพบก กองทัพเรือ และฐานทัพอากาศ
ทำเนียบรัฐบาล และรัฐสภาต่างก็เปิดให้เด็กๆ เข้าชม ดังนั้นเด็กๆ ต่างก็คอยให้ถึงวันเด็กเร็วๆ
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : National Children’s Day-วันเด็กแห่งชาติ
ตอนที่ : 26
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:53:56
เข้าชม : 3194
เนื้อเรื่อง
National Children’s Day
Children are considered as the most valuable resources of the
nation. They are a powerful force in the development and stability
of the nation. Normally, the age of children taking part in the
celebrations should be less than 14 years old.
To prepare themselves to be strength of the nation, children should
be industrious in their study, make use of their time wisely, being
disciplined, diligent, helpful to each other, unselfish, being aware
of right and duty and responsible towards the society. In addition,
they should keep the country clean and conserve the natural
environment and public property. If children are aware of their own
future and of the nation by behaving in such a way, they will be
called “Worthy Children” and the country will be prosperous.
At the same time, to stimulate children to be aware of their
significant role in the country, the National Children’s Day was
held for the first time on the first Monday of October 1955 and
continued until 1963. Then it was changed to the second Saturday of
January as at this time the rainy season is over and it is a
government holiday. This is still in practice today.
The government has set up an organising committee to co-ordinate
with several agencies in both public and private sectors to organise
the celebration simultaneously throughout the country. The
objectives are to enable children to realize their importance, to be
disciplined, being aware of right and duty, responsibility towards
the society, be proud of their country, Religion and Monarchy, and
believe in a democratic system having the King as the head of state.
Every year on this day, His Majesty the King gives an advice while
the Supreme Patriarch gives a moral teaching. The Prime Minister
also gives a slogan. This indicates that children are the most
valuable resource of the nation. We often hear the saying that,
“Children are the future of the nation, if the children are
intelligent, the country will be prosperous.” Therefore, children
should ask themselves whether they are worthy children or not.
On this day, many interesting places such as the Duzit Zoo, the
Army, Navy, and Airforce bases, Government House and Parliament
House are opened for children to visit. Thus, all children look
forward to National Children’s Day.
วันเด็กแห่งชาติ
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติ เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้
เจริญก้าวหน้าและมั่นคง โดยปกติอายุของเด็กที่เข้าร่วมฉลองในงานนี้จะต่ำกว่า 14 ปี
เพื่อเตรียมพร้อมให้ตนเองเป็นกำลังของชาติ เด็กควรจะมีความขยันหมั่นศึกษาหาความรู้ รู้จัก
ใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ มีระเบียบวินัย ขยันขันแข็ง ช่วยเหลือกันและกัน เสียสละรู้จักสิทธิ
หน้าที่ ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมทั้งรักษาความสะอาดและรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสาธารณสมบัติ ถ้าหากเด็กตระหนักถึงอนาคตของตนเองและของชาติโดยการปฏิบัติตนตามที่
กล่าวมานั้น ก็จะได้ชื่อว่าเป็น “เด็กดี” และประเทศชาติก็จะเจริญรุ่งเรือง
ในขณะเดียวกัน เพื่อกระตุ้นให้เด็กตระหนักถึงบทบาทอันสำคัญของตนในประเทศ จึงได้มีการจัด
งานวันเด็กแห่งชาติขึ้นเป็นครั้งแรกในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. 2498 และถือปฏิบัติ
เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 2506 แต่ต่อมาเปลี่ยนเป็นวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม เพราะเป็น
ช่วงหมดฤดูฝนแล้วและเป็นวันหยุดราชการอีกด้วย ดังนั้นจึงถือปฏิบัติมาจนถึงวันนี้
ในการจัดงานวันเด็กแห่งชาตินั้น ทางรัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานขึ้นมาชุดหนึ่ง เพื่อ
ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งทางภาครัฐและเอกชนเพื่อจะได้จัดฉลองพร้อมกันทั่วทั้ง
ประเทศโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของตนเองมีระเบียบวินัย
ตระหนักถึงสิทธิและหน้าที่ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความภูมิใจในชาติศาสนา และพระมหา
กษัตริย์ ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
ทุกๆ ปี ในวันนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะพระราชทานพระบรมราโชวาท สมเด็จพระ
สังฆราชเจา ทรงโปรดประทานพระคติธรรม และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีจะมอบคำขวัญวันเด็ก
นี่ก็แสดงให้เห็นว่าเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดของชาติ เราจึงได้ยินคำพูดอยู่บ่อย ๆ ว่า
“เด็กคืออนาคตของชาติ เด็กฉลาด ชาติเจริญ” ดังนั้นเด็ก ๆ จึงควรถามตนเองว่าตนเป็นเด็ก
ดีหรือไม่
ในวันนี้สถานที่น่าสนใจหลายแห่ง เช่น สวนสัตว์ดุสิต กองทัพบก กองทัพเรือ และฐานทัพอากาศ
ทำเนียบรัฐบาล และรัฐสภาต่างก็เปิดให้เด็กๆ เข้าชม ดังนั้นเด็กๆ ต่างก็คอยให้ถึงวันเด็กเร็วๆ
Subscribe to:
Posts (Atom)