ยินดีต้อนรับทุกคน เข้าเยี่ยมชม เว็บไซต์ของ นายประชา หรือ www.zoomzaa.blogspot.com.......Wellcome everyone to Pracha's website www.zoomzaa.blogspot.com I will break free from this sphere and will not give into my fears as long as you are in my life together we will defeat strife Every bleak moment you replace with thoughtful words to embrace those years of trials and tribulations tied us with a strong connection Days of depression are no more for you heal each of my sore I will not crawl back into that hole cause you are here healing my soul Feelings of love flutter in my eyes where once it used to be ice you awake a dying woman in me and now I am the woman I can be I know I am stubborn and annoying yet your patience keeps our relation going you are my one true love to hold, I pray this bond never grows cold Based on a quote: Blessed is the influence of one true, loving human soul on another by George Eliot

Study English

ยินดีต้อนรับทุกคน เข้าเยี่ยมชม เว็บไซต์ของ นายประชา หรือ www.zoomzaa.blogspot.com.......Wellcome everyone to Pracha's website www.zoomzaa.blogspot.com

20090815

Magha Puja Day-วันมาฆบูชา

*ชื่อเรื่อง : * *บทความภาษาอังกฤษ*
ชื่อผู้แต่ง : FWR.SilverSky <../Room/AliasProfile.aspx?ID=34182>
ชื่อตอน : Magha Puja Day-วันมาฆบูชา
ตอนที่ : 25
อัพเดตเมื่อ : 22/1/2552 13:51:02
เข้าชม : 1439
เนื้อเรื่อง


Magha Puja Day

Magha Puja Day is one of the most important Buddhist celebrations
which falls on the full moon day of the third lunar month (about the
last week of February or early March)

This day marks the great four events that took place during Lord
Buddha’s lifetime, namely ;
1. 1250 Buddhist monks from different place came to pay homage to
Lord Buddha at Veluwan Vihara in Rajgaha, the capital of Magaha
State, each on his own initiative and without prior notification or
appointment.
2. All of them were the enlightened monks (or Arahantas)
3. All of them had been individually ordained by Lord Buddha himself
(Ehi Bhikkhu), and
4. They assembled on the full moon day of the third lunar month.

On the evening of that day, Lord Buddha gave the assembly a
discourse “Ovadha Patimokha” laying down the principles of His
Teachings summarised into three acts, i.e. to do good, to abstain
from bad action and to purify the mind.

It was unclear as to when the Magha Puja Ceremony took place.
However, in a guide book of ceremonies for the twelve months written
by King Chulalongkorn (Rama V), it is said that, “….In the past, the
Magha Puja was never performed, the ceremony has just been practised
during the reign of King Mongkut (Rama IV)…” Having realized the
significance of this day, King Rama IV ordered the royal Magha Puja
Ceremony to be performed in the Emerald Buddha Temple in 1851 and to
be continued forever. Later the ceremony was widely accepted and
performed throughout the kingdom. The day is declared as a public
holiday so that people from all walks of life can go to the temple
to make merit and perform other religious activities in the morning
and to take part in the candlelit procession or “Wien Tien” in Thai
in the evening.

At the same time, at this auspicious time, His Majesty the King will
preside over the religious rites to mark the occasion at the Emerald
Buddha Temple and will later lead hundreds of people in a candlelit
procession held within the temple’s compound.

In fact, the candlelit procession can be held at any time suitable
to the public’s convenience, either in the morning or in the
evening. However, in Bangkok it will usually take place in the
evening at about 8.00 pm and the procession will be led by Buddhist
monks.

In general, most Buddhists are not aware of the significance of this
day. As a result, a number of people taking part in the ceremony may
be less than on other days such as Visakha Puja or Asanha Puja Days.
Even so Magha Puja Day carries an equal meaning to all Buddhists.


วันมาฆบูชา

วันมาฆบูชาเป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนาวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 (ประมาณ
สัปดาห์สุดท้ายของเดือนกุมภาพันธ์ หรือไม่ก็ต้นเดือนมีนาคม)

วันนี้เป็นวันที่มีการประชุมครั้งใหญ่ (จาตุรงคสันนิบาต) อันมีความมหัศจรรย์ 4 ประการ ใน
ครั้งพุทธกาล กล่าวคือ
1. ภิกษุจำนวน 1,250 องค์มาจากที่ต่าง ๆ กันเพื่อสักการะพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่เวฬุวัน
วิหาร ในกรุงราชคฤห์ เมืองมคธ แต่ละองค์ก็เดินทางมาเอง โดยมิได้มีการนัดหมายกันล่วง
หน้าแต่ประการใด
2. พระภิกษุทั้งหมด ล้วนแต่เป็นผู้ได้บรรลุพระอรหันต์แล้วทุก ๆ องค์
3. พระภิกษุเหล่านั้นล้วนเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจ้าทรงบวชให้ทั้งสิ้น
4. ในวันนี้เป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ

ในเย็นวันนั้น พระพุทธเจ้าทรงถือโอกาสนี้แสดงโอวาทปาติโมกข์ ซึ่งมีใจความอันเป็นหลักของ
พระพุทธศาสนา กล่าวคือ ทำแต่ความดี ไม่ทำความชั่ว และทำจิตใจให้บริสุทธิ์

พิธีทำบุญวันมาฆบูชานี้ ไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีมาในสมัยใด อย่างไรก็ตาม ก็ได้มีหลักฐานในพระ
ราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวไว้ว่า
“ในอดีต มาฆบูชานี้แต่เดิมไม่เคยทำกัน เพิ่งเกิดขึ้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า
อยู่หัว” รัชกาลที่ 4 ทรงเห็นความสำคัญของวันมาฆะนี้ จึงโปรดให้มีพระราชพิธีประกอบการ
กุศลขึ้นในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในปี พ.ศ. 2394 และกระทำสืบไปตลอดกาล ต่อ ๆ มา
พิธีในวันนี้ก็ได้แพร่หลายและประกอบพิธีกันทั่วราชอาณาจักร วันนี้ประกาศให้เป็นวันหยุดทาง
ราชการด้วย เพื่อให้ประชาชนจากทุกสาขาอาชีพได้ไปวัด เพื่อทำบุญกุศลและประกอบกิจกรรม
ทางศาสนาในตอนเช้าและเข้าร่วมพิธีเวียนเทียนในตอนค่ำอีกด้วย

ในขณะเดียวกัน เนื่องในโอกาสอันเป็นมงคลนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะทรงเสด็จไป
ประกอบพิธีทางศาสนาที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม และต่อมาก็จะทรงนำเหล่าพสกนิกรประกอบ
พิธีเวียนเทียนจัดขึ้นภายในวัดพระแก้วนี้ด้วย

ความจริงแล้ว พิธีเวียนเทียนนี้จะประกอบในเวลาใดก็ได้ แล้วแต่ความสะดวกของประชาชน
อาจจะเป็นตอนเช้าหรือตอนเย็นก็ได้ อย่างไรก็ตามในกรุงเทพมหานคร โดยปกตินิยมจัดให้มีขึ้น
ในตอนเย็น เวลาประมาณ 20.00 น. และขบวนเวียนเทียนนี้ก็จะมีพระสงฆ์เป็นผู้นำ

โดยทั่วไปแล้ว ชาวพุทธส่วนใหญ่ไม่ค่อยรู้ความสำคัญของวันนี้ ดังนั้น จำนวนประชาชนที่เข้าร่วม
ในพิธีจึงมีน้อยกว่าวันอื่น ๆ เช่น วันวิสาขบูชา หรือ อาสาฬหบูชา แม้กระนั้นวันมาฆบูชาก็ยังมี
ความสำคัญต่อชาวพุทธทั้งหมดอยู่ดีนั่นเอง

No comments:

Post a Comment

Upload file free - ฝากไฟล์ฟรีไม่หมดอายุแน่นอน